โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นิทานของบีเดิลยอดกวีและแฮร์รี่ พอตเตอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นิทานของบีเดิลยอดกวีและแฮร์รี่ พอตเตอร์

นิทานของบีเดิลยอดกวี vs. แฮร์รี่ พอตเตอร์

นิทานของบีเดิลยอดกวี (The Tales of Beedle the Bard) เป็นหนังสือนิทานเด็ก ที่แต่งโดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง เพื่อเป็นหนังสือประกอบสำหรับนิยายในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดยหนังสือเล่มนี้ เป็นหนังสือสมมติที่ถูกอ้างถึงใน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต ซึ่งเป็นนิยายเล่มสุดท้ายในชุดอีกด้วย เดิมที. แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นิทานของบีเดิลยอดกวีและแฮร์รี่ พอตเตอร์

นิทานของบีเดิลยอดกวีและแฮร์รี่ พอตเตอร์ มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สุมาลี บำรุงสุขอัลบัส ดัมเบิลดอร์นานมีบุ๊คส์แอมะซอน (บริษัท)แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูตเจ. เค. โรว์ลิง

สุมาลี บำรุงสุข

มาลีที่ร้านนานมีบุ๊คส์ สุมาลี เกิดที่กรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2498 เติบโตขึ้นมาในครอบครัวที่รักการอ่าน เป็นพี่น้องร่วมสายเลือดกับศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข และผ.ดร.สุกัญญา บำรุงสุข คุณสุมาลีเริ่มเขียนหนังสือสำหรับเด็กให้นิตยสาร สตรีสารภาคพิเศษ ตั้งแต่อายุ 15 ปี เมื่อจบจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำงานในกองบรรณาธิการวารสารสำหรับเด็กชื่อ สวิตา อยู่ระยะหนึ่ง ก่อนเบนเข็มไปทำงานวิชาการ แต่ยังคงเขียนและแปลหนังสือสำหรับเด็กเป็นงานอดิเรกอยู่เสมอ ปัจจุบันมีอาชีพเป็นนักเขียนอิสระ พำนักอยู่ที่แมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ ผลงานหนังสือเด็กที่พิมพ์เผยแพร่แล้ว นอกจากชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ซึ่งสุมาลีแปลแฮร์รี่ภาค1,2,5,6และ7 และเขียนเรื่อง เรื่องของม่าเหมี่ยว ม่าเหมี่ยวและเพื่อน นิทานเจ้าหญิง (แปลร่วมกับเพื่อนๆ) เรื่องเล่าก่อนเข้านอน และ ปริศนาหน้าร้อน นิยายสำหรับวัยรุ่นคือ ลวงรัก หลังจากเสร็จสิ้นงานแปล แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต เธอกำลังปรับปรุงต้นฉบับเรื่องเด็กล่าสุด ม็อกแมวมหัศจรรย์ หลังจากนั้นสุมาลียังได้แปลเรื่อง นิทานของบีเดิลยอดกวีซึ่งเป็นหนังสือประกอบของหนังสือชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์อีกด้ว.

นิทานของบีเดิลยอดกวีและสุมาลี บำรุงสุข · สุมาลี บำรุงสุขและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลบัส ดัมเบิลดอร์

อัลบัส เพอร์ซิวาล วูลฟริก ไบรอัน ดัมเบิลดอร์ (Albus Percival Wulfric Brian Dumbledore) เป็นตัวละครในเรื่องแต่งชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง มีบทบาทเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ในเนื้อหาเกือบทั้งหมดของเรื่อง ต่อมามีการเปิดเผยในเนื้อเรื่องว่าดัมเบิลดอร์เป็นผู้ก่อตั้งภาคีนกฟีนิกซ์ซึ่งเป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นเพื่อต่อสู้กับตัวร้ายของเรื่องคือลอร์ดโวลเดอมอร์ มีการกล่าวว่าอัลเฟรด ดันน์ (Alfred Dunn) อดีตอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนเซนต์ไมเคิล (St Michael's Primary School) ที่โรว์ลิ่งเคยเรียนอยู่ เป็นแรงบันดาลใจในการให้กำเนิดตัวละครนี้ ในภาพยนตร์สองภาคแรกนั้นผู้ที่รับบทเป็นดัมเบิลดอร์คือริชาร์ด แฮร์ริสซึ่งเสียชีวิตลงก่อนหนังภาคสองจะได้เข้าฉาย ดังนั้นเซอร์ไมเคิล แกมบอนจึงได้รับบทดัมเบิลดอร์ในภาคต่อๆ ม.

นิทานของบีเดิลยอดกวีและอัลบัส ดัมเบิลดอร์ · อัลบัส ดัมเบิลดอร์และแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นานมีบุ๊คส์

นานมีบุ๊คส์ (Nanmeebooks) คือสำนักพิมพ์แห่งหนึ่งในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อปี..

นานมีบุ๊คส์และนิทานของบีเดิลยอดกวี · นานมีบุ๊คส์และแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอมะซอน (บริษัท)

แอมะซอน.คอม (Amazon.com -) เป็นเว็บไซต์ในลักษณะอีคอมเมิร์ซ โดยมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองซีแอตเทิล ในรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา แอมะซอนเป็นเว็บไซต์ขายของออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยมีขนาดใหญ่กว่าอันดับ 2 ซึ่งคือ สเตเปิลส์ ประมาณสามเท่าตัว เจฟฟ์ เบซอสก่อตั้งแอมะซอนในปี พ.ศ. 2537 และเริ่มเปิดให้บริการออนไลน์ในปี พ.ศ. 2538 โดยเริ่มต้นจากการขายหนังสือออนไลน์ และขยายกิจการทั้งในด้าน วีเอสเอช ดีวีดี ซีดีเพลง ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ วิดีโอเกม เสื้อผ้า เฟอร์นิเจอร์ อาหาร ฯลฯ เว็บไซต์แอมะซอนเองยังมีเว็บไซต์ย่อยแยกออกมาสำหรับขายของในประเทศอื่นนอกเหนือจากสหรัฐอเมริกา ได้แก่ แคนาดา สหราชอาณาจักร เยอรมนี ฝรั่งเศส จีน และ ญี่ปุ่น ซึ่งนอกจากนี้ ประเทศนอกเหนือจากนี้ยังสามารถซื้อของผ่านแอมะซอน โดยการส่งสินค้าข้ามประเทศได้.

นิทานของบีเดิลยอดกวีและแอมะซอน (บริษัท) · แอมะซอน (บริษัท)และแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต

หน้าปกหนังสือ ฉบับสำนักพิมพ์บลูมสบิวรี ปกอังกฤษ(ครึ่ง) หน้าปกหนังสือ ฉบับอเมริกา แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต เป็นหนังสือเล่มที่เจ็ด และเป็นเล่มสุดท้ายในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง ฉบับภาษาอังกฤษออกวางจำหน่ายในวันที่ 21 กรกฎาคมพ.ศ. 2550ฉบับภาษาไทยออกจำหน่ายวันที่ 7 ธันวาคมพ.ศ. 2550 ชื่อของหนังสือนั้นประกาศบนเว็บไซต์ของโรว์ลิ่งในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และหลังจากนั้นบนเว็บไซต์ของสำนักพิมพ์ โรว์ลิ่งได้กล่าวว่าภาคนี้ ซึ่งถือเป็นภาคสุดท้าย มีความเกี่ยวพันกับภาคที่ผ่านมาสูงมาก "ราวกับว่าเป็นครึ่งหลังของนิยายเล่มเดียวกัน" ก่อนหนังสือจะออก มีการคาดเดาเกี่ยวกับความหมายของชื่อ Deathly Hallows ผู้แต่งได้ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า "การอธิบายความหมายของ Hallows จะเผยเนื้อเรื่องมากเกินไป" และปฏิเสธที่จะตอบคำถาม ก่อนการประกาศชื่อเรื่อง โรว์ลิ่งเคยแถลงว่ามีชื่อเรื่องที่คิดไว้สามชื่อ คือ Harry Potter and the Deathly Hallows,Harry Potter and the Peverell Quest และ Harry Potter and the Elder Wand.

นิทานของบีเดิลยอดกวีและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต · แฮร์รี่ พอตเตอร์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต · ดูเพิ่มเติม »

เจ. เค. โรว์ลิง

แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก.

นิทานของบีเดิลยอดกวีและเจ. เค. โรว์ลิง · เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นิทานของบีเดิลยอดกวีและแฮร์รี่ พอตเตอร์

นิทานของบีเดิลยอดกวี มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ แฮร์รี่ พอตเตอร์ มี 128 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 4.26% = 6 / (13 + 128)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นิทานของบีเดิลยอดกวีและแฮร์รี่ พอตเตอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »