โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นาซีเลอมะก์และอาจาด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นาซีเลอมะก์และอาจาด

นาซีเลอมะก์ vs. อาจาด

นาซีเลอมะก์ห่อด้วยใบตอง นาซีเลอมะก์ (nasi lemak) หรือที่ในภาษามลายูปัตตานีเรียกว่า นาซิ ลือเมาะ (ออกเสียง) เป็นข้าวเจ้าหุงกับกะทิ ซึ่งพบในมาเลเซีย บรูไน สิงคโปร์ หมู่เกาะเรียว และภาคใต้ของประเทศไทย มาเลเซียกล่าวว่าอาหารชนิดนี้เป็นอาหารประจำชาติและเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของมาเลเซีย แม้ว่าจะมีการแพร่กระจายในบริเวณอื่น ๆ อาหารนี้เป็นคนละชนิดกับนาซีดากัง (นาซิ ดาแกฺ) ซึ่งเป็นที่นิยมทางชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรมลายู คือกลันตันและตรังกานู แต่ทั้งนาซีเลอมะก์และนาซีดากังก็เป็นอาหารเช้าที่แพร่หลาย คำว่านาซีเลอมะก์ในภาษามลายูหมายถึงข้าวมัน โดยนำข้าวไปแช่ในกะทิ แล้วนำส่วนผสมไปนึ่ง กระบวนการปรุงคล้ายกับอาหารอินโดนีเซียคือนาซีอูดุก์ บางครั้งจะเติมใบเตยหอมลงบนข้าวขณะนึ่งเพื่อให้เกิดกลิ่นหอม อาจเพิ่มเครื่องเทศบางชนิด ได้แก่ ขิงและตะไคร้ เพื่อเพิ่มความหอม การรับประทานแบบพื้นบ้านจะห่อด้วยใบตอง ใส่แตงกวาหั่น ปลาร้าทอด (ikan bilis) ถั่วลิสงอบ ไข่ต้มแข็ง และซัมบัลซึ่งเป็นซอสมีลักษณะคล้ายน้ำพริก รสเผ็ด นาซีเลอมะก์นี้อาจจะรับประทานคู่กับไก่ทอด (ayam goreng) ผักบุ้งผัด หมึกผัดพริก (sambal sotong) หอยแครง อาจาด เรินดังเนื้อ (แกงเนื้อกับกะทิและเครื่องเทศ) หรือปอดวัว (paru) อาหารเหล่านี้ส่วนใหญ่มีรสเผ็ด นาซีเลอมะก์เป็นที่นิยมรับประทานในมาเลเซียและสิงคโปร์ นิยมกินเป็นอาหารเช้าทั้งสองประเทศ หรือรับประทานในภัตตาคารเป็นอาหารกลางวันหรืออาหารเย็น มีขายทั้งในศูนย์อาหารของสิงคโปร์และข้างถนนในมาเลเซีย นาซีเลอมะก์กูกุซ (nasi lemak kukus) หรือข้าวมันนึ่ง เป็นอีกชื่อหนึ่งของนาซีเลอมะก์ที่ปรุงให้สุกด้วยการนึ่ง. อาจาดที่เคียงอยู่ในชุดอาหารอินโดนีเซีย อาจาด เป็นน้ำจิ้มชนิดหนึ่ง ทำจากน้ำส้มสายชูหรือน้ำกระเทียมดอง เพิ่มน้ำตาลและเกลือเล็กน้อย (บางตำรับใช้น้ำเชื่อม) มาตั้งไฟเคี่ยวจนมีลักษณะเหนียวหรือข้น มีแตงกวา หอมแดง พริกชี้ฟ้า หั่นเป็นชิ้น ๆ อยู่ด้วย รับประทานเคียงอาหารจำพวกสะเต๊ะและแกงกะหรี่เพื่อแก้เลี่ยน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นาซีเลอมะก์และอาจาด

นาซีเลอมะก์และอาจาด มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อาหารมาเลเซียผักบุ้งถั่วลิสงขิงตะไคร้แตงกวา

อาหารมาเลเซีย

มะตะบะที่ขายริมถนนในมาเลเซีย อาหารมาเลเซีย เป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากหลายวัฒนธรรมทั่วโลก อิทธิพลหลักมาจากชาวมลายู ชาวจีน และชาวอินเดีย นอกจากนั้นยังได้รับอิทธิพลจากชาวเปอรานากันและยูเรเซีย ชาวโอรังอัสลี และชนเผ่าต่าง ๆ ในซาราวะก์และซาบะฮ์ อาหารมาเลเซียจึงมีความหลากหลายมากโดยรวมทั้งการปรุงอาหารของมลายู จีน อินเดีย อินโดนีเซียโดยเฉพาะในเกาะบอร์เนียว และได้รับอิทธิพลในส่วนน้อยมาจากไทย โปรตุเกส อังกฤษ อาหรับ ทำให้อาหารมาเลเซียมีความหลากหลายทั้งรสชาติ วิธีการ และมีความซับซ้อนมาก.

นาซีเลอมะก์และอาหารมาเลเซีย · อาจาดและอาหารมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ผักบุ้ง

ผักบุ้ง เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) พบทั่วไปในเขตร้อน และเป็นผักที่คนท้องถิ่น เช่น ไทย เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย และกานา นิยมรับประทานเป็นอาหาร ผักบุ้งที่คนไทยนิยมนำมาประกอบอาหารมี 3 สายพันธุ์ คือ ผักบุ้งไทย ผักบุ้งนาและผักบุ้งจีน โดยผักบุ้งไทยมักปลูกในน้ำเพราะเจริญเติบโตได้ดีกว่าบนบก ส่วนผักบุ้งจีนจะปลูกในดินเพราะต้องการธาตุอาหารจากในดินมากกว.

นาซีเลอมะก์และผักบุ้ง · ผักบุ้งและอาจาด · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วลิสง

ั่วลิสง หรือ ถั่วดิน จัดเป็นพืชตระกูลถั่ว.

ถั่วลิสงและนาซีเลอมะก์ · ถั่วลิสงและอาจาด · ดูเพิ่มเติม »

ขิง

ง เป็นพืชล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน เปลือกนอกสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในสีนวลมีกลิ่นหอมเฉพาะ แทงหน่อหรือลำต้นเทียมขึ้นเป็นกอประกอบด้วยกาบหรือโคนใบหุ้มซ้อนกัน ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันเป็นสองแถว ใบรูปหอกเกลี้ยงๆ กว้าง 1.5 - 2 ซม.

ขิงและนาซีเลอมะก์ · ขิงและอาจาด · ดูเพิ่มเติม »

ตะไคร้

ตะไคร้; ชื่อท้องถิ่น: จะไคร (ภาคเหนือ), หัวซิงไค (ภาคอีสาน), ไคร (ภาคใต้), คาหอม (แม่ฮ่องสอน), เชิดเกรย, เหลอะเกรย (เขมร-สุรินทร์), ห่อวอตะโป่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)) เป็นพืชล้มลุก ความสูงประมาณ 4-6 ฟุต ใบยาวเรียว ปลายใบมีขนหนาม ลำต้นรวมกันเป็นกอ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อยาวมีดอกเล็กฝอยเป็นจำนวนมาก ตะไคร้เป็นพืชที่สามารถนำส่วนต้นหัวไปประกอบอาหาร และจัดเป็นพืชสมุนไพรด้ว.

ตะไคร้และนาซีเลอมะก์ · ตะไคร้และอาจาด · ดูเพิ่มเติม »

แตงกวา

แตงกวา หรือ แตงร้านhttp://frynn.com/%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2/ เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Cucurbitaceae (วงศ์เดียวกันกับแตงโม ฟักทอง บวบ มะระ น้ำเต้า) มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย นิยมปลูกเพื่อใช้ผลเป็นอาหาร มีอายุตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว 30-45 วัน แตงกวาสามารถนำไปปรุงอาหารได้มากมายหลายชนิดเช่น แกงจืด ผัด กินกับน้ำพริก หรืออาจแปรรูปเป็นแตงกวาดอง.

นาซีเลอมะก์และแตงกวา · อาจาดและแตงกวา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นาซีเลอมะก์และอาจาด

นาซีเลอมะก์ มี 35 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาจาด มี 37 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 8.33% = 6 / (35 + 37)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นาซีเลอมะก์และอาจาด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »