เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

นางมารสวมปราด้าและสิ่งพิมพ์รายคาบ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นางมารสวมปราด้าและสิ่งพิมพ์รายคาบ

นางมารสวมปราด้า vs. สิ่งพิมพ์รายคาบ

นางมารสวมปราด้า (The Devil Wears Prada) เป็นภาพยนตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ออกแพร่ภาพในปี พ.ศ. 2549 และถูกนำเข้ามาฉายในประเทศไทยในปีเดียวกัน ดัดแปลงมาจากบทประพันธ์ The Devil Wears Prada ของ ลอเรน ไวส์เบอร์เกอร์ ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในกลุ่มผู้อ่านทั่วโลก จากเนื้อหาที่เปิดเผยเรื่องราวการทำงานในวงการแฟชั่น ชีวิตและปัญหาของคนหนุ่มสาวที่อยู่ในวงการนั้นๆ ตลอดจนมุมมองและแนวคิดอย่างคนใน ซึ่งคนทั่วๆ ไปอาจไม่เคยได้สัมผัส ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้มีการดัดแปลงเนื้อหาบางส่วน โดยใช้มุมมองและความคิดเห็นจากทั้งโปรดิวเซอร์ ผู้กำกับการแสดง รวมทั้งนักแสดงหลัก จึงมีความแตกต่างจากบทประพันธ์ดั้งเดิมอยู่ในบางจุด นอกจากนี้ จุดเด่นของนางมารสวมปราด้าในภาคภาพยนตร์ ยังอยู่ที่บรรดาเสื้อผ้า รองเท้า และเครื่องประดับที่ได้รับการสนับสนุนจากเหล่าดีไซน์เนอร์จากแบรนด์ชั้นนำทั่วโลก รวมถึงการปรากฏตัวเป็นนักแสดงรับเชิญในหลายๆ ส่วนของภาพยนตร์ ของผู้มีชื่อเสียงในวงการแฟชั่น เช่น วาเลนติโน่ การาวานี่, จีเซลล์ บุนด์เซล, ไฮดี้ คลุม หรือแม้แต่เจ้าของบทประพันธ์อย่าง ลอเรน ไวส์เบอร์เกอร์เอง. งพิมพ์รายคาบ หมายถึง สิ่งพิมพ์เย็บเล่มที่มีกำหนดออกระบุไว้แน่นอนและต่อเนื่อง มีกำหนดระยะเวลาออกไว้แน่นอนและสม่ำเสมอ เช่น ทุก 1 เดือน (รายเดือน) ทุก 15 วัน (รายปักษ์) ทุก 7 วัน (รายสัปดาห์) เนื้อหาในเล่มประกอบไปด้วยบทความต่างๆ เรื่องราวที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ บางเรื่องจบในฉบับแต่บางเรื่องลงต่อเนื่องกันไปหลายฉบับ เนื้อเรื่องภายในเล่มอาจจะจำกัดขอบเขตตามแขนงวิชาใดวิชาหนึ่ง หรืออาจจะเป็นเรื่องทั่วๆ ไปแตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดทำ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นางมารสวมปราด้าและสิ่งพิมพ์รายคาบ

นางมารสวมปราด้าและสิ่งพิมพ์รายคาบ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): นิตยสาร

นิตยสาร

นิตยสาร (magazine) คือสิ่งพิมพ์รายคาบที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มีเนื้อหาหลากหลาย มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการโฆษณาและวางขายทั่วไป ผู้อ่านสามารถบอกรับเป็นสมาชิกได้ คำว่า "นิตยสาร" มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่า "นิตยสาร" โดยทั่วไปอาจมีความหมายคาบเกี่ยวกับคำว่า วารสาร ซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอนเช่นกัน แต่ในทางบรรณารักษศาสตร์ ปัจจุบัน เมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต ทำให้มีนิตยสารในอินเทอร์เน็ต ซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ก็ยังเรียกกันว่า "นิตยสาร" เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น "อนุสาร อ..ท." ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิด มีความก่ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่ม มีทั้งข่าว วิเคราะห์ข่าว และบันเทิง ในสัดส่วนที่พอๆ กัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่อง ไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุงลอนดอนเมื่อ พ.ศ. 2274 (สมัยพระเจ้าท้ายสระ) ชื่อ "นิตยสารสุภาพบุรุษ" (The Gentleman's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ พ.ศ. 2450 นิตยสารสำหรับผู้บริโภคฉบับแรกของโลกคือ "นิตยสารสกอต" (The Scots Magazine) ตีพิมพ์ในสกอตแลนด์เมื่อปี พ.ศ. 2282 ซึ่งตรงกับสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และยังคงตีพิมพ์อยู่จนถึงในปัจจุบัน.

นางมารสวมปราด้าและนิตยสาร · นิตยสารและสิ่งพิมพ์รายคาบ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นางมารสวมปราด้าและสิ่งพิมพ์รายคาบ

นางมารสวมปราด้า มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ สิ่งพิมพ์รายคาบ มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.35% = 1 / (14 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นางมารสวมปราด้าและสิ่งพิมพ์รายคาบ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: