เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

นักวิจัยหลังปริญญาเอกและห้องปฏิบัติการ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นักวิจัยหลังปริญญาเอกและห้องปฏิบัติการ

นักวิจัยหลังปริญญาเอก vs. ห้องปฏิบัติการ

นักวิจัยหลังปริญญาเอก หรือ โพสต์-ด็อก (post-doc ย่อมาจาก postdoctoral appointment) เป็นตำแหน่งงานทางด้านงานวิจัยให้กับทางมหาวิทยาลัยภายหลังจากบุคคลที่จบการศึกษาในระดับปริญญาเอก โดยทั่วไปช่วงระยะเวลาในการทำงานจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของตัวงาน ตั้งแต่ 6 เดือนจนถึง 5 ปี โดยส่วนใหญ่ตำแหน่งโพสต์-ด็อก จะมีให้กับนักศึกษาในด้านวิทยาศาสาตร์ ถึงแม้ว่าในสาขาอื่นเช่น วิศวกรรม จะมีบ้างก็ตาม เงินเดือนของตำแหน่งโพสต์-ด๊อก เมื่อเปรียบเทียบกับตำแหน่งอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกันจะน้อยกว่า แต่โอกาสของตำแหน่งนี้จะเปิดกว้างกว่าเมื่อเปรียบเทียบในเชิงวิชาการ ตำแหน่งนักวิจัยหลังปริญญาเอกมีความแตกต่างกับผู้ช่วยวิจัยหรือเจ้าหน้าที่วิจัย คือ โดยปกติแล้วจะต้องได้รับปริญญาเอกมาก่อน หรือมีประสบงานในสถาบันวิทยาศาสตร์หรือวงการอุตสาหกรรมที่เทียบเท่ากับปริญญาเอก ในบางกรณี นักวิจัยหลังปริญญาเอกอาจจะต้องจัดการเรียนการสอน ตำแหน่งของนักวิจัยหลังปริญญาจะมีความแตกต่างกันไปตามประเทศและสถานศึกษา ในบางครั้ง อาจมีโอกาสได้เลื่อนตำแหน่ง แต่โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นตำแหน่งชั่วคราว หมวดหมู่:การวิจัย หมวดหมู่:การศึกษา. ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์บริหารโดยสถาบันบัณฑิตโรคมะเร็ง ณ มหาวิทยาลัยการแพทย์จีน (ประเทศไต้หวัน) Adam Mickiewicz University ในพอซนาน โต๊ะทำงานในห้องปฏิบัติการทางเคมี  ห้องปฏิบัติการ Schuster ในมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ (ห้องปฏิบัติการทางฟิสิกส์) ห้องปฏิบัติการ (laboratory) เรียกสั้น ๆ ว่า ห้องแล็บ (lab) คือสถานที่ซึ่งอยู่ในสภาวะที่ถูกควบคุม และเป็นที่สำหรับการวิจัย การทดลอง และการวัดทางวิทยาศาสตร์หรือทางเทคนิค   ห้องปฏิบัติการซึ่งใช้สำหรับการวิจัยทางวิทยาศาสตร์มีหลายแบบ ด้วยความที่แต่ละภาควิชาของวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์มีความต้องการเฉพาะที่ต่างกัน ห้องปฏิบัติการทางฟิสิกส์อาจมีเครื่องเร่งอนุภาคหรือห้องสุญญากาศ ส่วนห้องปฏิบัติการทางวิศวกรรมโลหการอาจมีเครื่องมือในการหล่อหรือการกลั่น (refine) เหล็กเพื่อทดสอบความแข็งแรงของเหล็ก นักเคมีหรือนักชีววิทยาอาจใช้ห้องปฏิบัติการแบบเปียก (wet laboratory) ส่วนห้องปฏิบัติการของนักจิตวิทยาอาจเป็นห้องซึ่งมีกระจกด้านเดียวติดอยู่รวมไปถึงมีกล้องซ่อนไว้เพื่อเฝ้าดูพฤติกรรม บางห้องปฏิบัติการ เช่น ห้องที่นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ใช้ อาจมีคอมพิวเตอร์ (บางครั้งอาจเป็นซูเปอร์คอมพิวเตอร์) เพื่อใช้สำหรับบการจำลองหรือการวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งมาจากที่อื่น นักวิทยาศาสตร์ในภาควิชาอื่นอาจใช้ห้องปฏิบัติการแบบอื่น วิศวกรใช้ห้องปฏิบัติการในการออกแบบ สร้าง หรือทดสอบเครืองมือทางเทคโนโลยีต่างๆ ห้องปฎิบัตรการทางวิยาศาสตร์นั้นพบได้ในโรงเรียน มหาวิทยาลัย อุตสาหกรรม สถานที่ทางราชการหรือทหาร รวมไปถึงเรือและยานอวก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นักวิจัยหลังปริญญาเอกและห้องปฏิบัติการ

นักวิจัยหลังปริญญาเอกและห้องปฏิบัติการ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.

นักวิจัยหลังปริญญาเอกและมหาวิทยาลัย · มหาวิทยาลัยและห้องปฏิบัติการ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นักวิจัยหลังปริญญาเอกและห้องปฏิบัติการ

นักวิจัยหลังปริญญาเอก มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ ห้องปฏิบัติการ มี 37 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.50% = 1 / (3 + 37)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นักวิจัยหลังปริญญาเอกและห้องปฏิบัติการ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: