โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียวและมนตร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียวและมนตร์

นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียว vs. มนตร์

ตัวอย่างของ "โกะฮนซน" (御本尊) มัณฑละอักษรภาพซึ่งมีมนต์ "นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียว" เป็นประธานหลักของมัณฑละ นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียว หรือ นัมเมียวโฮเร็งเงะเคียว เป็นมนต์ที่ใช้สวดเป็นบทหลักในศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็ง มีความหมายว่า "ขอนอบน้อมแด่สัทธรรมปุณฑรีกสูตร" มนต์นี้ถูกอ้างอิงถึงในชื่อ ไดโมะคุ (題目) หรือเรียกอย่างยกย่องว่า โอไดโมะคุ (お題目) ซึ่งได้มีการเผยแพร่ครั้งแรกโดยพระนิชิเร็ง พระภิกษุในศาสนาพุทธชาวญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 28 เดือนสี่ทางจันทรคติญี่ปุ่น ค.ศ. 1253 ณ วัดเซโชจิ (หรือที่เรียกกันว่า คิโยะซุมิ-เดะระ) ใกล้เมืองโคะมินะโตะ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเมืองคะโมะงะวะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น พิธีสวดไดโมะคุนั้นเรียกว่า "โชได" (唱題) มีจุดมุ่งหมายเพื่อการตรัสรู้เข้าถึงพุทธภาวะได้โดยสมบูรณ์ในภพปัจจุบัน. มนตร์ (मन्त्र) หรือ มนต์ (manta) คำศักดิ์สิทธิ์หรือคำสำหรับสวดเพื่อเป็นสิริมงคล พบในศาสนาแบบอินเดีย ทั้งศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ ศาสนาซิกข์ โดยทั่วไปมักเป็นคำสรรเสริญสิ่งศักดิ์สิท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียวและมนตร์

นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียวและมนตร์ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ศาสนาพุทธนิชิเร็น

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียวและศาสนาพุทธ · มนตร์และศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

นิชิเร็น

ทธศาสนานิชิเร็น (日蓮系諸宗派, นิชิเร็น-เคอิ โช ชูฮะ) เป็นหนึ่งในนิกายทางมหายานของพุทธศาสนา ที่ยึดตามคำสอนของ พระสงฆ์ชาวญี่ปุ่นชื่อ พระนิชิเร็ง (ค.ศ. 1222– ค.ศ. 1282) รูปแบบของศาสนาพุทธนิกายนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมญี่ปุ่นหลายช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ นิชิเร็นโชชูจะเชื่อใน คัมภีร์ สัทธรรมปุณฑริกสูตร และเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีธรรมชาติพุทธะอยู่ในชีวิตของแต่ละคนอยู่แล้ว จึงทำให้มนุษย์ทุกคนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ในช่วงชีวิตนี้ ซึ่งพระนิชิเร็ง ได้เห็นความเบี่ยนเบนทางคำสอนของ มหายานในสมัยนั้น นิกายนิชิเร็นมีแตกแยกออกเป็นหลาย ๆ นิกายย่อยและลัทธิต่าง ๆ อีกมากมาย อีกทั้งยังมีแยกออกเป็นกลุ่มศาสนาใหม่มากมาย โดยบางนิกายจะใช้บทสวดเดียวกัน แต่จะมีความแตกต่างในการปฏิบัติ และคำสอน ผู้นับถือนิกายนิชิเร็นจะเชื่อว่าการปฏิบัติธรรมจะสามารถนำพาความสุข และสันติสุขมาสู่โลก.

นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียวและนิชิเร็น · นิชิเร็นและมนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียวและมนตร์

นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียว มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ มนตร์ มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 5.26% = 2 / (12 + 26)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นะมุเมียวโฮเร็งเงะเคียวและมนตร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »