โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นะกะโอะกะ ชินตะโร

ดัชนี นะกะโอะกะ ชินตะโร

นะกะโอกะ ชินตะโร (6 พฤษภาคม ค.ศ. 1838 - 10 ธันวาคม ค.ศ. 1867) เป็นซามูไรชาวแคว้นโทะซะในยุคบะคุมะสึของญี่ปุ่น เขาเป็นผู้ใกล้ชิดของซะกะโมะโตะ เรียวมะ ซึ่งได้ร่วมกันเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อล้มล้างรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะNational Diet Library (NDL), Portraits of Modern Japanese Historical Figures,.

29 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2381พ.ศ. 2404พ.ศ. 2406พ.ศ. 2407พ.ศ. 2409พ.ศ. 2410พ.ศ. 2434การลอบสังหารรัฐบาลเอโดะสงครามกลางเมืองจักรพรรดิเมจิจังหวัดโคจิทะเกะชิ ซุอิซังซะกะโมะโตะ เรียวมะซามูไรซนโนโจอิประเทศญี่ปุ่นแคว้นฮิโระชิมะแคว้นซัตสึมะแคว้นโชชูแคว้นโทะซะโชกุนโอมิยะ (ร้านค้า)โทกูงาวะ โยชิโนบุไคเอ็นไตเคียวโตะ10 ธันวาคม30 กันยายน6 พฤษภาคม

พ.ศ. 2381

ทธศักราช 2381 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1838.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและพ.ศ. 2381 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2404

ทธศักราช 2404 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1861.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและพ.ศ. 2404 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2406

ทธศักราช 2406 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1863.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและพ.ศ. 2406 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2407

ทธศักราช 2407 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1864.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและพ.ศ. 2407 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2409

ทธศักราช 2409 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1866.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและพ.ศ. 2409 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2410

ทธศักราช 2410 ตรงกั.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและพ.ศ. 2410 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2434

ทธศักราช 2434 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1891 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและพ.ศ. 2434 · ดูเพิ่มเติม »

การลอบสังหาร

การลอบสังหาร (Assassination) การฆาตกรรมบุคคคลที่มีชื่อเสียงด้วยการวางแผนล่วงหน้า การลอบสังหารอาจจะเกิดขึ้นเนื่องด้วยเหตุผลทางอุดมคติ การเมือง หรือการทหารเป็นมูลเหตุชี้นำก็เป็นได้ และนอกจากนี้ ผู้ลอบสังหาร (Assassin) เองก็อาจจะได้รับแรงจูงใจจากค่าจ้าง ความแค้น ความมีชื่อเสียง หรือความพิการทางจิตด้ว.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและการลอบสังหาร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเอโดะ

รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ. 1603 - 1868 จนกระทั่งถูกสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ (明治天皇 Meiji-tennō) ล้มล้างไปในการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治維新 Meiji Ishin) หลังจากยุคเซงโงะกุ (戦国時代 Sengoku-jidai) หรือยุคไฟสงคราม โอดะ โนะบุนะงะ (織田 信長 Oda Nobunaga) และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (豊臣 秀吉 Toyotomi Hideyoshi) ได้ร่วมกันรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง และตั้งเป็นรัฐบาลกลางขึ้นอีกครั้งในยุคอะซึจิ-โมะโมะยะมะ (あづちももやまじだい Azuchi momoyama jidai) ซึ่งเป็นยุคสั้นๆ ก่อนยุคเอโดะ ต่อมา หลังจากยุทธการเซะกิงะฮะระ (関ヶ原の戦い Sekigahara no Tatakai) ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ในค.ศ. 1600 การปกครองและอำนาจทั้งหมด ได้ตกอยู่ในมือของโทกูงาวะ อิเอะยะสุโดยเบ็ดเสร็จ และสถาปนาตนเองเป็นโชกุนในปี ค.ศ. 1603 ซึ่งเป็นไปตามประเพณีโบราณ ที่ผู้เป็นโชกุนจะต้องสืบเชื้อสายจากต้นตระกูลมินะโมะโตะ (源 Minamoto) ในยุคของโทกูงาวะ ต่างจากยุคโชกุนก่อนๆ คือมีการนำระบบชนชั้นที่เริ่มใช้โดยโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มาใช้อีกครั้งอย่างเข้มงวด โดยชนชั้นนักรบ หรือซามูไร (侍 Samurai) อยู่บนสุด ตามด้วยชาวนา ช่างฝีมือ และพ่อค้า การใช้ระบบชนชั้นอย่างเข้มงวดและไม่ยืดหยุ่นได้ทำให้เกิดจลาจลมาตลอดสมัย ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นชาวนานั้น อยู่ในอัตราคงที่โดยไม่คำนึงถึงอัตราเงินเฟ้อหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของค่าเงิน ส่งผลให้รายได้ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นซามูไร ผู้เป็นเจ้าของที่ดินมีมูลค่าลดลงเรื่อยๆตลอดยุค ซึ่งสาเหตุนี้ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างซามูไรผู้ทรงเกียรติแต่ฐานะทางการเงินต่ำลงเรื่อยๆจากการจ่ายภาษี กับชาวนาผู้มีอันจะกิน เกิดเป็นการปะทะกันหลายต่อหลายครั้งที่เริ่มจากเหตุการณ์เล็กๆรุกลามเป็นเหตุการณ์วุ่นวาย อย่างไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงระบบสังคมยุคเอโดะได้ ตราบจนการเข้ามาของชาวตะวันตก เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กลุ่มไดเมียวผู้มีอำนาจ เช่น ตระกูลชิมะสึ (島津氏 Shimazu-shi) ได้ร่วมมือกับสมเด็จพระจักรพรรดิและพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งในสมัยเอโดะเคยทรงเพียงศักดิ์แต่ไร้อำนาจ เพื่อโค่นล้มระบอบโชกุนในโดยสงครามโบะชิน (戊辰戦争 Boshin Sensō) ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปเมจิโดยจักรพรรดิเมจิ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะถูกล้มล้างโดยสมบูรณ์ในค.ศ. 1868 โดยมีโทกูงาวะ โยชิโนบุ (徳川 慶喜 Tokugawa Yoshinobu) เป็นโชกุนคนที่ 15 และเป็นโชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่น จากนั้น ญี่ปุ่นก็เข้าสู่ยุคเมจิ (明治時代 Meiji-jidai)อันมีการฟื้นฟูราชวงศ์มายังเมืองเอโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงโตเกียวดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและรัฐบาลเอโดะ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมือง

งครามกลางเมือง (civil war) เป็นสงครามภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม, สัญชาติ หรือสังคมแบบเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแย่งชิงอำนาจหรือดินแดน สงครามกลางเมืองอาจนับเป็นการปฏิวัติ (Revolution) ได้ในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่ภายในสังคมนั้นหลังจากสิ้นสุดสงคราม นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มยังได้นับรวมเอาการจลาจล (Insurgency) เป็นสงครามกลางเมืองประเภทหนึ่งด้วยถ้ามีการสู้รบระหว่างกองทัพอย่างเต็มรูปแบบ ปัจจุบันความแตกต่างระหว่าง "สงครามกลางเมือง", "การปฏิวัติ" และ "การจลาจล" นั้นไม่ชัดเจนนัก ขึ้นอยู่กับบริบทในการใช้งาน สงครามกลางเมืองที่สำคัญ.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและสงครามกลางเมือง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเมจิ

มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1867 ด้วยพระชนมายุเพียง 14 พรรษาจนเสด็จสรรคต ญี่ปุ่นได้ก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอำนาจในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและจักรพรรดิเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโคจิ

ังหวัดโคจิ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งภาคใต้ของเกาะชิโกกุ มีเมืองหลักอยู่ที่เมือง.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและจังหวัดโคจิ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเกะชิ ซุอิซัง

ทะเกะชิ ซุอิซัง ทะเกะชิ ซุอิซัง (24 ตุลาคม ค.ศ. 1829 – 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1865) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ทะเกะชิ ฮัมเปตะ เป็นซามูไรชาวแคว้นโทะซะในช่วงยุคบะคุมะสึของประเทศญี่ปุ่น ทะเกะชิ ซุอิซัง เป็นผู้นำกลุ่มโทะซะคินโนโท หรือ "กลุ่มผู้ภักดีแห่งโทะซะ" ซึ่งสนับสนุนแนวคิด "ซนโนโจอิ" หรือ "เทิดทูนจักรพรรดิ ขับคนป่าเถื่อน" และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว เขาได้พยายามเข้ามามีอำนาจควบคุมแคว้นโทะซะและพยายามดึงซะกะโมะโตะ เรียวมะ เพื่อนซามูไรหัวก้าวหน้าชาวแคว้นโทะซะ ให้เข้าร่วมกลุ่มด้วย ต่อมาเมื่อทางแคว้นโทะซะดำเนินการกวาดล้างซามูไรระดับล่างที่สนับสนุนแนวคิดซนโนโจอิ ทะเกะชิได้ถูกจับกุมเนื่องจากต้องสงสัยว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการลอบสังหารโยะชิดะ โทโย อดีตขุนนางชั้นสูงของแคว้นโทะซะซึ่งมีแนวคิดปฏิรูปประเทศด้วยการยอมค้าขายกับต่างชาติ และถูกตัดสินให้จบชีวิตตนเองด้วยการคว้านท้อง อนึ่ง นอกจากจะเป็นผู้นำกลุ่มโทะซะคินโนโทแล้ว ทะเกะชิ ซุอิซัง ยังเป็นหัวหน้าของโอะกะดะ อิโซ และทะนะกะ ชิมเบ ผู้เป็น 2 ใน 4 มือสังหารผู้ลือชื่อในยุคบะคุมะสึ หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นโทะซะ‎ หมวดหมู่:เซ็ปปุกุ หมวดหมู่:บะกุมะสึ.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและทะเกะชิ ซุอิซัง · ดูเพิ่มเติม »

ซะกะโมะโตะ เรียวมะ

ซะกะโมะโตะ เรียวมะ เป็นซามูไรผู้มีบทบาทสำคัญในการเคลื่อนไหวล้มล้างระบอบการปกครองของรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะในช่วงยุคบะคุมะสึ (ปลายยุคเอโดะ) เพื่อสร้างความเสมอภาคในสังคมญี่ปุ่น และปฏิรูปประเทศให้ไปสู่ความทันสมัยตามอย่างชาติยุโรปตะวันตก เขายังเป็นผู้ก่อตั้งไคเอ็นไตซึ่งเป็นบริษัทพาณิชย์นาวีแห่งแรกของประเทศญี่ปุ่นและเป็นลูกศิษย์ของคะสึ ไคชู ผู้วางรากฐานแห่งกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและซะกะโมะโตะ เรียวมะ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ซนโนโจอิ

มพ์ญี่ปุ่นในปี ค.ศ. 1861 แสดงออกถึงการต่อต้านคนต่างชาติ ("โจอิ" - 攘夷, "ขับคนป่าเถื่อน") ซนโนโจอิ เป็นชื่อของปรัชญาการเมืองและขบวนการทางสังคมของญี่ปุ่นที่มีรากฐานมาจากลัทธิขงจื้อใหม่ (Neo-Confucianism) ซึ่งได้กลายเป็นคำขวัญทางการเมืองในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1850 - 1860 ในความพยายามล้มล้างรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะในช่วงยุคบะคุมะสึ.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและซนโนโจอิ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นฮิโระชิมะ

แคว้นฮิโระชิมะ (Hiroshima Domain, Hiroshima-han) แคว้นศักดินาในอดีตของญี่ปุ่นซึ่งปัจจุบันคือ จังหวัดฮิโระชิมะ โดยมี เมืองฮิโระชิมะ เป็นเมืองเอกและมีฐานบัญชาการอยู่ที่ ปราสาทฮิโระชิมะ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและแคว้นฮิโระชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นซัตสึมะ

งสีของแคว้นซัตสึมะในสงครามโบะชิน แคว้นซัตสึมะ เคยเป็นหนึ่งในแคว้นไดเมียวที่ทรงอำนาจที่สุดในสมัยรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ หรือสมัยเอะโดะของญี่ปุ่นในอดีต มีบทบาทสำคัญในสมัยการปฏิรูปเมจิ ทั้งยังครองตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเมจิหลังการปฏิรูปด้วยเช่นกัน ตลอดอายุของแคว้นซัตสึมะ แคว้นนี้ได้ถูกปกครองโดยไดเมียวระดับโทะซะมะ จากตระกูลชิมะซุ หลายต่อหลายรุ่น อาณาเขตของแคว้นกินพื้นที่ด้านใต้ของเกาะคีวชู ในบริเวณอดีตจังหวัดซัตสึมะ อดีตจังหวัดโอซุมิ และด้านตะวันตกของอดีตจังหวัดฮีวงะ มีอาณาจักรรีวกีว เป็นประเทศราช ปัจจุบัน พื้นที่ส่วนใหญ่กลายเป็นจังหวัดคาโงชิมะ ส่วนที่เหลือเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดมิยะซะกิ แคว้นซัตสึมะ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า แคว้นคาโงชิมะ มีศุนย์กลางการปกครองที่ปราสาทคาโงชิมะ ในเมืองคาโงชิมะ แคว้นซัตสึมะมีผลผลิตมวลรวมของแคว้นคิดเป็นหน่วยโคกุดะกะ (หน่วยวัดผลผลิตข้าวทั้งหมดแต่ละแคว้นในระบบศักดินาสมัยเอะโดะ สะท้อนถึงอำนาจและความมั่งคั่งของแคว้น ดังเช่น GDP ในปัจจุบัน) อยู่ที่ 770,000 โคกุ สูงเป็นอันดับสองรองจากแคว้นคะกะ ตระกูลชิมะซุ ปกครองแคว้นซัตสึมะเป็นเวลาประมาณ 4 ศตวรรษ นับแต่ก่อตั้งแคว้นในต้นยุคเอะโดะ จนถึงศตวรรษที่ 16 กินอาณาเขตเกือบทั้งเกาะคีวชู แม้ว่าจะถูกโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ ปราบปรามในยุทธการคีวชู ค.ศ. 1587 เพื่อปราบปรามและควบคุมไดเมียวตามหัวเมืองต่างๆ ตระกูลชิมะซุก็ยังคงเป็นตระกูลที่มีอิทธิพลสูงสุดเหนือเกาะต่างๆรอบข้างเหมือนเดิม ในระหว่างศึกเซกิงะฮะระ ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ ปิดฉากยุคเซงโงะกุ อันเป็นยุคแห่งไฟสงครามในค.ศ. 1600 ตระกูลชิมะซุก็ยังคงตั้งมั่นที่แคว้นซัตสึมะเพื่อรวบรวมและป้องกันกำลังของตัวเอง ในขณะที่ตระกูลอื่นๆถูกกำจัดไปในสงครามครั้งนี้ ตระกูลชิมะซุเป็นหนึ่งในไม่กี่ตระกูลที่สามารถรักษากองกำลังของตนเองเพื่อต่อต้านกองทัพของโชกุน ที่พยายามครอบครองดินแดนญี่ปุ่นทั้งหมดได้ ต่างกับอีกหลายตระกูลที่ยอมแพ้สละแว่นแคว้นที่ตนเองปกครองให้กับโชกุนในยุคเอะโดะ ตระกูลชิมะซุก็ยังคงดำรงสถานะความเป็นแคว้นของซัตสึมะ และอำนาจในการปกครองไว้ได้ตราบจนสิ้นยุคโชกุน.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและแคว้นซัตสึมะ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นโชชู

งของกองทัพแคว้นโชชูใน สงครามโบะชิง แคว้นโชชู เป็นแคว้นศักดินาของญี่ปุ่นในยุคเอะโดะDeal, William E. (2005).

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและแคว้นโชชู · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นโทะซะ

ปราสาทโคชิ ที่พำนักและที่ทำการของไดเมียวผู้ปกครองแคว้นโทะซะ ทหารแคว้นโทะซะสวมชะกุมะเป็นเครื่องหมายสังเกต ในยุทธการอุเอะโนะ สงครามโบะชิง (ค.ศ. 1867-68) แคว้นโทะซะ เป็นแคว้นศักดินาโบราณซึ่งปัจจุบันคือ จังหวัดโคชิ โดยในอดีตแคว้นนี้มีตระกูลยะมะอุจิเป็นผู้ปกครอง ซึ่งยะมะอุจิ โทะโยะชิเงะ ไดเมียวคนที่ 15 ได้มีส่วนร่วมในการโค่นล้มรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ ด้วยการเขียนฎีกาให้โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ ยอมถวายคืนพระราชอำนาจแก่จักรพรรดิโคเม บุคคลสำคัญในยุคนั้นถือกำเนิดที่แคว้นนี้เช่น ซะกะโมะโตะ เรียวมะ, นะกะโอะกะ ชินตะโร, อิวะซะกิ ยะตะโร ฯลฯ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและแคว้นโทะซะ · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน

กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและโชกุน · ดูเพิ่มเติม »

โอมิยะ (ร้านค้า)

ร้านโอมิยะในปัจจุบันที่ได้กลายสภาพเป็นร้านขายโชยุ โอมิยะ เป็นโรงเตี๊ยมที่ตั้งอยู่ใน เมืองเกียวโต มีอายุมากกว่า 145 ปีเป็นสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นเพราะ ซะกะโมะโตะ เรียวมะ ซามูไรนักปฏิรูปคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคบะกุมะสึ และ นะกะโอะกะ ชินตะโร น้องชายร่วมสาบานได้ถูกลอบสังหารที่นี่เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1867 โรงเตี๊ยมแห่งนี้ได้ปิดกิจการลงและแปรสภาพเป็นร้านขายโชยุหรือซีอิ๊วญี่ปุ่นไปแล้ว.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและโอมิยะ (ร้านค้า) · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ โยชิโนบุ

ทกูงาวะ โยชิโนบุ (28 ตุลาคม ค.ศ. 1837 - 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913) เป็นโชกุนลำดับที่ 15 และโชกุนคนสุดท้ายของรัฐบาลโชกุนโทกูงาวะแห่งประเทศญี่ปุ่น โยชิโนบุเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลโชกุนโทกูงาวะมาหลายสมัย และได้เคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูปรัฐบาลโชกุนซึ่งกำลังอยู่ในภาวะเสื่อมถอย แต่จบลงด้วยความล้มเหลวอย่างรุนแรงยิ่ง ภายหลังเมื่อสละตำแหน่งและถวายอำนาจของโชกุนคืนแก่จักรพรรดิเมจิแล้ว โยชิโนบุได้เกษียณตนเองและใช้ชีวิตโดยหลบเลี่ยงจากสายตาของสาธารณชนตลอดช่วงชีวิตที่เหลืออยู่ จนกระทั่งเสียชีวิตด้วยวัย 76 ปี นับว่าเป็นโชกุนผู้มีอายุยืนที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและโทกูงาวะ โยชิโนบุ · ดูเพิ่มเติม »

ไคเอ็นไต

งของไคเอ็นไต ไคเอ็นไต เป็นบริษัทเดินเรือและพาณิชย์นาวีแห่งแรกของประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1865 ที่ นะงะซะกิ โดย ซะกะโมะโตะ เรียวมะ โดยพัฒนามาจาก กลุ่มการค้าคะเมะยะมะ (亀山社中 - คะเมะยะมะชาชู) ซึ่งมีจุดประสงค์ทางการเมืองแอบแฝงคือการโค่นล้มระบอบโชกุน นอกจากไคเอ็นไตจะทำการค้าและเดินเรือแล้ว ก็ยังมีบทบาททางการเมืองอยู่เช่นเดิม ซึ่งแหล่งเงินทุนของบริษัทก็ได้มาจากแคว้นซะสึมะ แคว้นโทะซะ รวมทั้งกลุ่มนักธุรกิจและเศรษฐีในนะงะซะกิ หลังจากเรียวมะเสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1867 ไคเอ็นไตก็ยังมีผู้บริหารกิจการสืบต่อมาจนปิดกิจการลงในปี ค.ศ. 1868.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและไคเอ็นไต · ดูเพิ่มเติม »

เคียวโตะ

ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: นะกะโอะกะ ชินตะโรและ6 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

นะกะโอะกะ ชินทะโร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »