โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและร็อก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและร็อก

นอยเอดอยท์เชแฮร์เต vs. ร็อก

นอยเอดอยท์เชแฮร์เต (Neue Deutsche Härte; "New German Hardness" หรือรู้จักในชื่อ Die Neue Härte) เป็นแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์เมทัลเยอรมัน หรือแดนซ์เมทัล (tanzmetal) เป็นแนวเพลงย่อยของเพลงร็อก ผู้คิดค้นคำนี้คือสื่อด้านดนตรีเยอรมัน หลังจากอัลบั้มแรกของวงรัมสไตน์ ที่ชื่อชุด Herzeleid (1995) ออกวาง. ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและร็อก

นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและร็อก มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การร้องเพลงกีตาร์เบสฮาร์ดร็อกซินท์ป็อปนิวเวฟนูเมทัลเครื่องสังเคราะห์เสียง

การร้องเพลง

แพตตี สมิธ ร้องเพลงในปี 2007 การร้องเพลง หรือ การขับร้อง คือการทำให้เกิดเสียงดนตรีจากเสียงและเสริมด้วยถ้อยคำทั้งระบบเสียงสูงต่ำและจังหวะ คนที่ขับร้องเพลงเรียกว่านักร้อง และนักร้องจะแสดงการขับร้องเพลง ซึ่งอาจจะร้องแบบอะแคปเปลา (ร้องโดยไม่ใช้ดนตรี) หรือมีนักดนตรี เครื่องดนตรีประกอบ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องดนตรีตัวเดียวหรือเต็มวง การร้องนั้นส่วนใหญ่จะร้องร่วมการแสดงกับนักดนตรีกลุ่มอื่น ไม่ว่าจ่ะเป็นกลุ่มคอรัสที่ร้องในเสียงที่แตกต่างกัน หรือกลุ่มนักเล่นดนตรี อย่างเช่นวงร็อกเป็นต้น การร้องเพลงนั้นอาจร้องแบบไม่เป็นทางการ ร้องเพื่อความบันเทิง อย่างเช่นร้องระหว่างการอาบน้ำ ร้องคาราโอเกะ หรือในบางกรณีร้องอย่างเป็นทางการ เช่นร้องในระหว่างพิธีทางศาสนา หรือนักร้องอาชีพร้องเพื่อแสดงบนเวทีหรือร้องในสตูดิโอ การร้องที่มีทักษะสูงหรือร้องในระดับอาชีพ มักจะต้องอาศัยความสามารถแต่กำเนิด การเรียนการสอน และการฝึกฝน นักร้องมืออาชีพจะสร้างหนทางสู่อาชีพด้วยการเป็นนักร้องในแนวเพลงต่าง ๆ อย่างเช่น นักร้องคลาสสิก นักร้องร็อก พวกเขาต้องฝึกทักษะการร้องในแนวเพลงนั้น ทั้งจากครูสอนร้องหรือโค้ชร้อง ในอาชีพของพวก.

การร้องเพลงและนอยเอดอยท์เชแฮร์เต · การร้องเพลงและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์เบส

ป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ในทางสากลสามารถเรียกได้ทั้ง electric bass (เบสไฟฟ้า), electric bass guitar (กีตาร์เบสไฟฟ้า) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า bass (เบส) ลักษณะของเบสมีขนาดใหญ่กว่ากีตาร์ มีโครงสร้างของคอที่ใหญ่และยาวกว่า มีย่านความถี่เสียงต่ำ มีหน้าที่โดยหลัก ๆ ในการให้จังหวะ คือคุมจังหวะตาม rhythm, line, pattern และ groove ของดนตรี ในขณะเดียวกันก็สามารถขยายระดับความสามารถการเล่นให้สูงขึ้นตามแนวเพลงและการประยุกต์ใช้ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการ Slap หรือการตบเบส (รวมไปถึงเทคนิคอื่นที่ใช้ร่วมกันกับการ Slap) ในดนตรี Funk, Jazz และอีกหลายแนว การ Tapping การเดิน Improvising การเล่น Harmonics การเล่น Picking เป็นต้น เบสไฟฟ้าจัดว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ถือกำเนิดหลังเครื่องดนตรีอื่น ๆ ในประเภทวงสตริงคือสร้างขึ้นหลัง กีตาร์ กลอง คีย์บอร์ดหรือซินธิไซเซอร์ (รายละเอียดจะมีในหัวข้อประวัติ) เครื่องดนตรีประเภทเบสที่ใช้กันในวงดนตรีและแนวต่าง ๆ ก็จะมี เบสไฟฟ้า เบสโปร่งไฟฟ้า fretless bass (เบสไม่มีเฟรต) และ double bass, upright bass บ้างทีก็เรียกกันว่า acoustic bass แต่ก็มีภาษาพูดเรียกกันติดปากสำหรับนักดนตรีบางคนว่า เบสใหญ่ เบสไฟฟ้าที่ใช้โดยทั่วไปจะมี 4 สาย 5 สาย และ 6 สาย ส่วนสายที่มากไปกว่านี้ก็มีเนื่องจากนักดนตรีบางคนอาจจะออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้ทางการเล่นเฉพาะตัว เบส 4 สายการตั้งสายตามมาตรฐานคือ E-A-D-G (เรียงจากต่ำ-สูง) เบส 5 สายคือ B-E-A-D-G ส่วน 6 สายคือ B-E-A-D-G-C แต่อย่างไรก็ตามเบสก็ได้ถูกขยายขอบเขตออกไปตามแนวคิดและการประยุกต์ใช้ของมือเบสต่าง ๆ จำนวนสายก็อาจจะมีอื่น ๆ อีก เช่น 3 สาย, 7 สาย, 8 สาย, 9 สาย เป็นต้น.

กีตาร์เบสและนอยเอดอยท์เชแฮร์เต · กีตาร์เบสและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ดร็อก

ฮาร์ดร็อก (Hard rock) เป็นแนวเพลงย่อยของดนตรีร็อก ที่มีรากฐานในช่วงต้นยุค 1960 ของดนตรีไซเคเดลิกร็อก และการาจร็อก และมีความหนักกว่าดนตรีร็อกทั่วไป เป็นต้นแบบของดนตรีเฮฟวี ที่ใช้การบิดเสียงของกีตาร์, กีตาร์เบส,คีย์บอร์ด และกลอง หมวดหมู่:ดนตรีร็อก หมวดหมู่:ฮาร์ดร็อก.

นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและฮาร์ดร็อก · ร็อกและฮาร์ดร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ซินท์ป็อป

ซินท์ป็อป หรือบางครั้งเรียกว่า เทคโนป็อป (techno-pop).

ซินท์ป็อปและนอยเอดอยท์เชแฮร์เต · ซินท์ป็อปและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

นิวเวฟ

บลอนดี (Blondie) ในปี ค.ศ. 1976 จากซ้ายไปขวา: แกรี วาเลนไทน์, เคล็ม เบิร์ก, เดโบราห์ แฮร์รี, คริส สไตน์ และ จิมมี เดสทรี นิวเวฟ เป็นแนวเพลงป็อปร็อกที่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 และกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ที่ผูกพันกับพังก์ร็อก โดยทั่วไปคำนี้มีความหมายเดียวกับพังก์ร็อก ก่อนที่จะรวมกับอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีทดลอง ม็อด ดิสโก้ และป็อป ต่อมานิวเวฟได้มีแนวเพลงย่อยได้แก่ นิวโรแมนติกและกอทิกร็อก ในฐานะที่เป็นแนวเพลงที่ได้รวมเอามากจากเสียงของพังก์ร็อกที่เป็นต้นฉบับ และอุปนิสัยของชนกลุ่มน้อย เช่นเน้นเพลงในเวลาสั้นและเราะรานReynolds, Simon "Rip It Up and Start Again PostPunk 1978–1984" p160แต่มันเป็นลักษณะซับซ้อนมากขึ้นในเพลงและเนื้อเพลงทั้ง ลักษณะทั่วไปของดนตรีนิวเวฟ นอกเหนือจากอิทธิพลของพังก์รวมถึงการใช้เครื่องสังเคราะห์เสียง และการผลิตแบบอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการจัดแต่งทรงผมและศิลปะหลากหลายขึ้น ในฐานะที่คำว่านิวเวฟมักจะใช้เพื่ออธิบายเพลงซึ่งเป็นที่เล่นโวหารและพิสดาร ลวงและปรากฏที่หัวใจ ผสมผสานในการติดท่อนแบบไพเราะชัดเจน ในลักษณะรูปแบบของแนวเพลงนี้แตกต่างกันอย่างมากตั้งแต่ปี..

นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและนิวเวฟ · นิวเวฟและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

นูเมทัล

นูเมทัล (นิวเมทัล) หรือบางครั้งเรียกว่า new metal หรือ nü metal เป็นแนวเพลงที่เกิดขึ้นในช่วงกลางยุคทศวรรษที่ 1990 เป็นแนวเพลงที่รวมอิทธิพลของ กรันจ์ และ อัลเทอร์เนทีฟเมทัล รวมเข้ากับ ดนตรีฟังก์ ฮิปฮอป และ เฮฟวี่เมทัล หลายแนวอย่าง แทรชเมทัล และ กรูฟเมทัล นูเมทัล จะเน้นที่อารมณ์ จังหวะ ผิวสัมผัส มากกว่า เมโลดี้ของเพลง เพลงนิวเมทัลส่วนใหญ่จะใช้จังหวะ ลัดโน้ตของท่อนริฟฟ์ เล่นกับการกีตาร์และกลองที่มีการปรับเสียงให้ต่ำลง ให้ดูหม่นลง และเสียงที่หนาขึ้นมากกว่าเพลงร็อคทั่วไป.

นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและนูเมทัล · นูเมทัลและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องสังเคราะห์เสียง

Synthesizer เครื่องสังเคราะห์เสียง หรือ ซินธิไซเซอร์ (synthesizer) คือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ออกแบบมาเพื่อสร้างเสียงจำลองโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การเพิ่มเสียง, การ ลดเสียง, การใช้คลื่นเสียงกล้ำคลื่นวิทยุโดยเปลี่ยนความถี่คลื่น (Frequency Modulate; FM), การสังเคราะห์ เสียงกายภาพ, การทำให้คลื่นเสียงผิดเพี้ยนรูปร่างไป ซินธิไซเซอร์สร้างเสียงผ่านการปรับเปลี่ยนโดยตรงของกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกใช้ในซินธิไซเซอร์แบบอนาล็อก, การปรับเปลี่ยนทางคณิตศาสตร์ของค่าตัวแปรที่พอใจ โดยใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งใช้ใน ซินธิไซเซอร์แบบที่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป หรือจากการรวมทั้งสองวิธีเข้าด้วยกัน ในขั้นตอนสุดท้ายของซินธิไซเซอร์กระแสไฟฟ้าจะถูกใช้เพื่อสร้างการสั่นให้กับแผ่นที่ใช้สั่นของ ลำโพง หรือ หูโทรศัพท์ เป็นต้น เสียงซินธิไซเซอร์นี้ถูกจำลองไว้จากการอัดเสียงธรรมชาติ เมื่อพลังงานทางกลของคลื่นเสียงถูกแปลงไปเป็นสัญญาณ และที่สุดจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นพลังงานทางกลจากการเล่นเทปที่อัดไว้ผ่านการสุ่ม ส่วนสำคัญที่ขาดหายไปของเสียงซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของซินธิไซเซอร์ ซินธิไซเซอร์เสียงพูด ยังถูกใช้ใน กรรมวิธีสร้างเสียงพูด อิเล็กทรอนิกส์ มักจะใช้ใน โวโคดเดอร์ (Vocoders) หรือการสร้างเสียงพูดนั่นเอง.

นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและเครื่องสังเคราะห์เสียง · ร็อกและเครื่องสังเคราะห์เสียง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและร็อก

นอยเอดอยท์เชแฮร์เต มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ ร็อก มี 61 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 8.64% = 7 / (20 + 61)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและร็อก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »