โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นวยุคนิยมและเวอร์จิเนีย วูล์ฟ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นวยุคนิยมและเวอร์จิเนีย วูล์ฟ

นวยุคนิยม vs. เวอร์จิเนีย วูล์ฟ

ก้าอี้วาสซิลี (Wassily) ผลงานของมาร์แซล บรอยเยอร์ นวยุคนิยม, นวนิยม, ทันสมัยนิยม หรือ สมัยใหม่นิยม (modernism) อธิบายชุดของขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม ซึ่งมีรากฐานมาจากการเปลี่ยนแปลงในสังคมตะวันตก ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำดังกล่าวครอบคลุมชุดต่อเนื่องของขบวนการปฏิรูปในศิลปะ, สถาปัตยกรรม, ดนตรี, วรรณกรรม, และศิลปะประยุกต์ซึ่งอุบัติขึ้นในระหว่างช่วงนี้. วอร์จิเนีย วูล์ฟ (Virginia Woolf (ชื่อเดิม Adeline Virginia Stephen)) (25 มกราคม ค.ศ. 1882 - 28 มีนาคม ค.ศ. 1941) เวอร์จิเนีย วูล์ฟเป็นนักเขียนนวนิยาย, เรื่องสั้น และ บทความ, นักพิมพ์ และผู้สนับสนุนสิทธิสตรี (feminist) คนสำคัญชาวอังกฤษ วูล์ฟถือกันว่าเป็นนักเขียนผู้มีบทบาทสำคัญของวรรณกรรมสมัยใหม่นิยมของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คนหนึ่ง ระหว่างสมัยสองสงครามโลก วูล์ฟเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในวงการวรรณกรรมของลอนดอนและเป็นสมาชิกคนหนึ่งของ “กลุ่มบลูมสบรี” (Bloomsbury group) ซึ่งเป็นกลุ่มนักเขียน, ปัญญาชน และศิลปินที่ก่อตัวขึ้นอย่างไม่เป็นทางการ งานชิ้นสำคัญ ๆ ของวูล์ฟก็ได้แก่นวนิยาย “Mrs Dalloway” (ค.ศ. 1925), “To the Lighthouse” (ค.ศ. 1927) และ “Orlando: A Biography” (ค.ศ. 1928) และบทความขนาดหนังสือ “A Room of One's Own” (ค.ศ. 1929) ที่มีประโยคที่เป็นที่รู้จักว่า “ผู้หญิงต้องมีเงินและห้องที่เป็นของตนเองถ้าจะเขียนนวนิยาย”.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นวยุคนิยมและเวอร์จิเนีย วูล์ฟ

นวยุคนิยมและเวอร์จิเนีย วูล์ฟ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นวยุคนิยมและเวอร์จิเนีย วูล์ฟ

นวยุคนิยม มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ เวอร์จิเนีย วูล์ฟ มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (7 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นวยุคนิยมและเวอร์จิเนีย วูล์ฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »