โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นยายะและพระเวท

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นยายะและพระเวท

นยายะ vs. พระเวท

ลัทธินยายะ (Nyaya; ภาษาสันสกฤต:ny-āyá) เป็นปรัชญาในศาสนาฮินดู คำว่านยายะมาจากภาษาสันสกฤตหมายถึงนำไปสู่ความจริงแท้ ลัทธินี้เริ่มขึ้นหลังพุทธกาลโดยมีฤๅษีโคตมะเป็นผู้แต่งนยายสูตร ต่อมาได้มีผู้แต่งคัมภีร์อธิบายความเพิ่มเติมต่อมาคือวาตสยายนะ แต่งนยายภาษยะ อุททโยตกระ แต่งวารติกะ และ วาจัสปติแต่งตาตปรยฎีกา ทำให้ได้คัมภีร์ในลัทธินยายะที่สมบูรณ์ ลัทธินี้มีความเห็นว่าชีวิตในโลกเต็มไปด้วยความทุกข์ และโมกษะเป็นสภาวะที่ดับทุกข์สิ้นเชิง ความทุกข์ของสัตว์โลกเกิดจากสังโยชน์หรือพันธนะเป็นเครื่องผูกมัดสรรพสัตว์ให้ติดอยู่ในสังสารวัฏ เหตุที่ทำให้เกิดโลกคือปรมาณูของธาตุทั้งสี่คือดินน้ำลมไฟ ปรมาณูของธาตุทั้งสี่นี้เกิดขึ้นเองไม่มีใครสร้างและทำลายได้ พระเจ้าทรงสร้างโลก โดยนำปรมาณูของธาตุทั้งสี่มารวมกันในสัดส่วนที่เหมาะสม และการทำลายโลกของพระเจ้าคือการที่ทรงแยกปรมาณูเหล่านี้ออกจากกัน ชีวาตมันหรือวิญญาณเป็นสภาวะที่เกิดขึ้นเองและดำรงอยู่ชั่วนิรันดร์ มนัสหรือจิตรเป็นสื่อในการรับรู้อารมณ์ของชีวาตมัน จนกระทั่งชีวาตมันบรรลุโมกษะจึงแยกออกจากมนัสได้โดยเด็ดขาด การเกิดคือการที่ชีวาตมันมาอาศัยในร่างกายและการตายคือการที่ชีวาตมันแยกออกจากร่างก. ระเวท คัมภีร์ในศาสนาฮินดู หน้าหนึ่งจากอาถรรพเวท พระเวท (वेद) โดยทั่วไปถือว่าเป็นคัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู หากกล่าวโดยเฉพาะลงไป หมายถึง บทสวดต่างๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อของชาวอินโดอารยัน หรืออาจเรียกได้ว่าศาสนาพราหมณ์ฮินดู โดยมีการรวบรวมเป็นหมวดหมู่ในชั้นหลัง คำว่า “เวท” นั้น หมายถึง ความรู้ มาจากธาตุ “วิทฺ” (กริยา รู้) คัมภีร์พระเวท ประกอบด้วยคัมภีร์ 4 เล่ม ได้แก่ ฤคเวทใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า สามเวทใช้สำหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า ยชุรเวทว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีบูชายัญและบวงสรวงต่างๆ และ อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ นักประวัติศาสตร์จำนวนมาก ถือว่า พระเวท เป็นส่วนที่เก่าที่สุดที่เหลืออยู่ สำหรับส่วนที่ใหม่สุดของพระเวท น่าจะมีอายุราวพุทธกาล และส่วนที่เก่าสุด ราว 1,000 ปีก่อนพุทธกาล แต่นักภารตวิทยาเชื่อว่า เนื้อหาของคัมภีร์เหล่านี้น่าจะได้มีการท่องจำกันมาก่อนการบันทึกเป็นเวลานานมากแล้ว ซึ่งมีหลักฐานจากลักษณะทางภาษา และปริบททางสังคมต่าง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นยายะและพระเวท

นยายะและพระเวท มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ศาสนาฮินดู

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

นยายะและศาสนาฮินดู · พระเวทและศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นยายะและพระเวท

นยายะ มี 2 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระเวท มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 14.29% = 1 / (2 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นยายะและพระเวท หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »