เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

นพลักษณ์และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นพลักษณ์และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า

นพลักษณ์ vs. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า

นพลักษณ์ (Enneagram of Personality) เป็นแบบจำลองบุคลิกภาพมนุษย์ซึ่งโดยหลักเข้าใจและสอนเป็นการจำแนกเก้าประเภทบุคลิกภาพที่ประสานกัน แม้กำเนิดและประวัติศาสตร์ของความคิดและทฤษฎีซึ่งสัมพันธ์กับนพลักษณ์ยังเป็นประเด็นถกเถียงกัน แต่ความเข้าใจนพลักษณ์ร่วมสมัยโดยหลักมาจากคำสอนของ Oscar Ichazo และ Claudio Naranjo ทฤษฎีของ Naranjo ได้รับอิทธิพลบางส่วนจากคำสอนก่อนหน้าบางส่วนของ G. I. Gurdjieff นพลักษณ์นิยามประเภทบุคลิกภาพเก้าประเภท ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ด้วยจุดของรูปเรขาคณิตเรียก enneagram ซึ่งยังชี้ความเชื่อมโยงบางประการระหว่างประเภทต่าง. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า คือรูปสามเหลี่ยมชนิดหนึ่งที่ด้านทั้งสามมีความยาวเท่ากัน ในเรขาคณิตแบบยุคลิด รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจัดเป็นรูปหลายเหลี่ยมมุมเท่า (equiangular polygon) กล่าวคือ มุมภายในแต่ละมุมของรูปสามเหลี่ยมมีขนาดเท่ากันคือ 60° ด้วยคุณสมบัติทั้งสอง รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจึงจัดเป็นรูปหลายเหลี่ยมปรกติ (regular polygon) และเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่าเป็น รูปสามเหลี่ยมปรกติ รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่ยาวด้านละ a\,\! หน่วย จะมีส่วนสูง (altitude) เท่ากับ \fraca หน่วย และมีพื้นที่เท่ากับ \fraca^2 ตารางหน่วย รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความสมมาตรมากที่สุด คือมีสมมาตรแบบสะท้อนสามเส้น และสมมาตรแบบหมุนที่อันดับสามรอบศูนย์กลาง กรุปสมมาตรของรูปสามเหลี่ยมนี้จัดว่าเป็นกรุปการหมุนรูปของอันดับหก (dihedral group of order 6) หรือ D3 ทรงสี่หน้าปรกติ สร้างขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสี่รูป รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถพบได้ในโครงสร้างทางเรขาคณิตอื่นๆ หลายอย่าง เช่น รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากันสองวงตัดกัน โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่บนเส้นรอบวงของอีกวงหนึ่ง ทำให้เกิดส่วนโค้งขนาดเท่ากัน และสามารถแสดงได้ด้วยรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสามเหลี่ยมนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างทรงหลายหน้า ทรงตันเพลโตสามในห้าชิ้นประกอบขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า หนึ่งในนั้นคือทรงสี่หน้าปรกติ ซึ่งประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งสี่หน้า นอกจากนั้นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถนำมาเรียงติดต่อกันบนระนาบ จนเกิดเป็นรูปแบนราบสามเหลี่ยม (triangular tiling) การหารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่เกี่ยวข้องกับรูปสามเหลี่ยมใดๆ สามารถหาได้จากทฤษฎีบทสามส่วนของมอร์ลีย์ (Morley's trisector theorem) Triangle Construction Animation.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นพลักษณ์และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า

นพลักษณ์และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นพลักษณ์และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า

นพลักษณ์ มี 0 ความสัมพันธ์ขณะที่ รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (0 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นพลักษณ์และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: