เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

นพพล โกมารชุนและเท่ง เถิดเทิง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นพพล โกมารชุนและเท่ง เถิดเทิง

นพพล โกมารชุน vs. เท่ง เถิดเทิง

นพพล โกมารชุน (ชื่อเล่น: ตู่) เป็นบุตรชายของนักแสดงอาวุโส เสนอ โกมารชุน (พี่ชายของ เสน่ห์ โกมารชุน) และ จุรี โอศิริ มีพี่ชายหนึ่งคนคือ นายจามร โกมารชุน (ถึงแก่กรรม) แสดงภาพยนตร์โดยเป็นตัวเอกในหลายเรื่อง แต่ที่สร้างชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่กล่าวถึงอย่างแท้จริงด้วยกันสามบทบาท คือ การรับบท อินทร ชายหนุ่มผู้เย็นชาทนงตัวแต่แฝงด้วยความอบอุ่นอ่อนโยนและแอบรัก ละเวง มัณฑนากรสาวนางเอกของเรื่อง ในละคร เก้าอี้ขาวในห้องแดง ทางช่อง 3 (พ.ศ. 2527) ประกบคู่กับ มยุรา เศวตศิลา ซูหลิน หนุ่มจีนแผ่นดินใหญ่ผู้แสนดีและมีอุดมการณ์ ในละคร กนกลายโบตั๋น ทางช่อง 7 (พ.ศ. 2533) คู่กับ ปรียานุช ปานประดับ และเกิดเป็นความรักจนกลายเป็นคู่ชีวิตกันในเวลาต่อมา หลังจากนั้นก็สร้างความประทับใจให้ผู้ชมอีกครั้งกับบท อาเหลียง ในละครโทรทัศน์เรื่อง ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535 ทางช่อง 7 ประกบคู่กับปรียานุช ปานประดับ และ อภิรดี ภวภูตานนท์ ประสบความสำเร็จอย่างงดงาม ต่อมา นพพลจึงเปลี่ยนบทบาทไปรับบทรองในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์อีกหลายเรื่อง เช่น มือปืน 2 สาละวิน ในปี พ.ศ. 2536 เป็นต้น และในยุคอดีตนั้น ช่วงปลายปี พ.ศ. 2532 ถึงปลายปี พ.ศ. 2536 นพพลเคยเป็นพิธีกรรายการ จุดเดือด ของ เจเอสแอล คู่กับ กาญจนาพร ปลอดภัย และ จรียา ทิพยะวัฒน์ และเคยเป็นพิธีกรรายการ เจาะโลกมหัศจรรย์ ด้วย ช่วงเวลาดังกล่าว นอกจากนี้แล้ว นพพล ยังผันตัวเองไปทำงานเบื้องหลัง โดยเฉพาะในฐานะผู้กำกับละคร ป้อนงานผลิตให้ช่อง 3 กับบริษัท ยูม่า จำกัด เช่น กตัญญูประกาศิต (พ.ศ. 2533), น้ำตาหยดสุดท้าย (พ.ศ. 2536), โสมส่องแสง (พ.ศ. 2537) เป็นต้น โดยมีนักแสดงคู่ใจอย่าง ฉัตรชัย เปล่งพานิช รับบทเป็นพระเอกให้แทบทั้งหมด ชีวิตส่วนตัว นพพล สมรสกับ ปรียานุช ปานประดับ ภรรยานักแสดงที่พบรักกันจากการร่วมแสดงในเรื่องกนกลายโบตั๋น แต่ทั้งคู่ไม่มีบุตรด้วยกัน เนื่องจากปรียานุชร่างกายไม่แข็งแรง ปัจจุบัน ได้ผันตัวเองเป็นผู้กำกับละครและผู้จัดละคร โดยเปิดกิจการของตนเอง ชื่อ บริษัท เป่าจินจง เมื่อปี 2541. ท่ง เถิดเทิง ได้รับรางวัล เอเชี่ยน เทเลวิชั่น อวอร์ด 2007 ประเภทนักแสดงตลกฝ่ายชายยอดเยี่ยม พงษ์ศักดิ์ พงษ์สุวรรณ ในวงการ เท่ง เถิดเทิง (เกิด 7 เมษายน พ.ศ. 2509) เป็นนักแสดงตลกชายจากแก๊งสามช่า มีชื่อเสียงจากการเป็นดาวตลก ได้กลายเป็นนักแสดงภาพยนตร์หลายเรื่อง และประกอบอาชีพหลายอย่าง ตั้งแต่ เล่นลิเก (มีคณะลิเกชื่อว่า ลิเกครื้นเครง เท่ง เถิดเทิง) ถีบรถสามล้อ ปัจจุบันเป็นนักแสดงตลกและพิธีกรในสังกัด รวมถึงเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ให้แก่ บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) เนื่องจากได้รับรางวัล เอเชี่ยน เทเลวิชั่น อวอร์ด 2007 ประเภทนักแสดงตลกฝ่ายชายยอดเยี่ยม เท่ง เถิดเทิงจึงได้รับฉายาว่า "ตลกเอเชีย" และ "ตลกอัจฉริยะ".

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นพพล โกมารชุนและเท่ง เถิดเทิง

นพพล โกมารชุนและเท่ง เถิดเทิง มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ่อ (ละครโทรทัศน์)สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3นักแสดง

พ่อ (ละครโทรทัศน์)

อ เป็นละครชุดเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๖ รอบ ในปี พ.ศ. 2542 โดยความร่วมมือของ กองทัพบก, บริษัท เทเลไฟฟ์ จำกัด และ โปรดักชั่นเฮ้าส์ทั้ง 6 แห่ง ออกอากาศครั้งแรกทางช่อง 5 ทุกวันพุธ และ วันพฤหัสบดี เวลา 20.15 - 21.55 น. ตั้งแต่วันที่ 3 กุมภาพันธ์ - 11 มีนาคม พ.ศ. 2542 โดยผู้เขียนบทคือ "กลุ่มกระดาษพ่อ ดินสอแม่" ของ ประภาส ชลศรานนท์ อนึ่ง ละครได้กลับมาออกอากาศอีกครั้งในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2542 - มกราคม พ.ศ. 2543 ทางช่อง 5 รวมไปถึง สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (โรงเรียนวังไกลกังวล) ได้ซื้อลิขสิทธิ์นำไปออกอากาศในช่วงนอกเวลาเรียน ในช่วงปี พ.ศ. 2547 - พ.ศ. 2549 ต่อมาในวันที่ 5-8 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ละครกลับมาฉายอีกครั้งทางสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมเวิร์คพอยท์ ทีวี และสืบเนื่องจากเหตุการณ์การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 จึงนำละครดังกล่าวกลับมาฉายอีกครั้ง ทางเวิร์คพอยท์ ทีวี และ ไทยรัฐทีวี ซึ่งได้ซื้อลิขสิทธิ์ละครนำไปออกอากาศเช่นกัน ซึ่งละครไม่ได้รีมาสเตอร์ และเพิ่มซับไตเติ้ลแบบ HD สำหรับพิการการได้ยินอย่างชัดเจน.

นพพล โกมารชุนและพ่อ (ละครโทรทัศน์) · พ่อ (ละครโทรทัศน์)และเท่ง เถิดเทิง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

นพพล โกมารชุนและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3และเท่ง เถิดเทิง · ดูเพิ่มเติม »

นักแสดง

กเบื้องหลังการถ่ายทำละคร นักแสดงกำลังซ้อมการแสดง นักแสดง คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นผู้แสดง เช่น ศิลปิน, นักรำ, นักเต้น, นักดนตรี ซึ่งแสดง ท่าทาง ร้องกล่าว พากย์ แสดงตามบทเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ชม และอื่นอื่น ซึ่งเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เป็นผู้ที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์งานขึ้นมา นักแสดงนั้น ไม่จำกัดว่าจะเป็นบุคคลเพศ, อาชีพ, หรือ อายุเท่าไร แต่จำเป็นต้องมีความสามารถทางด้านการการแสดงออกทางสีหน้า อารมณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยมาก คำว่า นักแสดง มักจะใช้เรียกว่า ดารา เสมอไป.

นพพล โกมารชุนและนักแสดง · นักแสดงและเท่ง เถิดเทิง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นพพล โกมารชุนและเท่ง เถิดเทิง

นพพล โกมารชุน มี 92 ความสัมพันธ์ขณะที่ เท่ง เถิดเทิง มี 74 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.81% = 3 / (92 + 74)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นพพล โกมารชุนและเท่ง เถิดเทิง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: