โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

นครราชและมหานิกาย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง นครราชและมหานิกาย

นครราช vs. มหานิกาย

นครราช (នគររាជ นครราช) เป็นชื่อของเพลงชาติกัมพูชาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ มีความหมายว่า "เมืองของพระเจ้าแผ่นดิน" ทำนองของเพลงประพันธ์ขึ้นโดยอาศัยทำนองของเพลงเขมรโบราณที่มีชื่อเดียวกันเมื่อ พ.ศ. 2481 โดยพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสุรามฤต (เมื่อครั้งยังเป็นกรมขุนวิสุทธิ์ขัตติยวงศ์นโรดมสุรามฤต) ร่วมกันกับครูเพลงชาวฝรั่งเศส 2 คน คือ F. Perruchot และ J. Jekyll ส่วนเนื้อร้องประพันธ์ขึ้น ภายหลังการราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหนุเสร็จสิ้นไปได้ไม่เกิน 3 เดือน (ราชาภิเษกเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) และสำเร็จเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 โดยสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ) สมเด็จพระสังฆราชในคณะสงฆ์มหานิกาย แต่ครั้งยังเป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ เพลงนครราชเริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2484 ในฐานะเพลงสรรเสริญพระบารมี (Royal anthem) และเริ่มใช้เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อประเทศกัมพูชาประกาศเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2496 ต่อมาใน พ.ศ. 2512 เมื่อนายพลลน นลล้มรัฐบาลของสมเด็จเจ้านโรดมสีหนุ และสถาปนาสาธารณรัฐเขมรขึ้นแทนที่ เพลงนครราชจึงถูกยกเลิกฐานะของเพลงชาติไป ต่อมาเมื่อรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรล่มสลายในปี.. มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง นครราชและมหานิกาย

นครราชและมหานิกาย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง นครราชและมหานิกาย

นครราช มี 26 ความสัมพันธ์ขณะที่ มหานิกาย มี 56 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (26 + 56)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นครราชและมหานิกาย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »