ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ธีรยุทธ บุญมีและรางวัลศรีบูรพา
ธีรยุทธ บุญมีและรางวัลศรีบูรพา มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สุจิตต์ วงษ์เทศเสกสรรค์ ประเสริฐกุลเสถียร จันทิมาธรเหตุการณ์ 14 ตุลา
สุจิตต์ วงษ์เทศ
ตต์ วงษ์เทศ (20 เมษายน พ.ศ. 2488 - ปัจจุบัน) นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ประจำปี พ.ศ. 2536 ปัจจุบันเป็นนักเขียนประจำในเครือมติชน เขียนเป็นประจำในคอลัมน์ "สยามประเทศไทย" ในหนังสือพิมพ์มติชน และผู้บรรยาย องค์ปาฐกถาพิเศษด้านศิลปะวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์) ประจำปี พ.ศ. 2545 (แต่ได้ขอปฏิเสธรางวัลและค่าตอบแทน).
ธีรยุทธ บุญมีและสุจิตต์ วงษ์เทศ · รางวัลศรีบูรพาและสุจิตต์ วงษ์เทศ ·
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล
กสรรค์ ประเสริฐกุล (พ.ศ. 2492 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 นักเขียนรางวัลศรีบูรพา เคยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา โดยมีชื่อจัดตั้งว่า "สหายไท" ในช่วง พ.ศ. 2518 - 2523 เสกสรรค์มีความเห็นขัดแย้งหลายประการกับกรรมการกลางของพรรคฯ และต่อมาได้แยกตัวออกจากพรรค ฯ และได้รับนิรโทษกรรมในเวลาต่อมาจากคำสั่งที่ 66/2523 ในขณะที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
ธีรยุทธ บุญมีและเสกสรรค์ ประเสริฐกุล · รางวัลศรีบูรพาและเสกสรรค์ ประเสริฐกุล ·
เสถียร จันทิมาธร
นายเสถียร จันทิมาธร สื่อมวลชนอิสระ อดีตบรรณาธิการบริหาร นิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ ผู้ร่วมก่อตั้ง และอดีตบรรณาธิการอำนวยการ หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน.
ธีรยุทธ บุญมีและเสถียร จันทิมาธร · รางวัลศรีบูรพาและเสถียร จันทิมาธร ·
เหตุการณ์ 14 ตุลา
หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...
ธีรยุทธ บุญมีและเหตุการณ์ 14 ตุลา · รางวัลศรีบูรพาและเหตุการณ์ 14 ตุลา ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ธีรยุทธ บุญมีและรางวัลศรีบูรพา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ธีรยุทธ บุญมีและรางวัลศรีบูรพา
การเปรียบเทียบระหว่าง ธีรยุทธ บุญมีและรางวัลศรีบูรพา
ธีรยุทธ บุญมี มี 31 ความสัมพันธ์ขณะที่ รางวัลศรีบูรพา มี 46 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 5.19% = 4 / (31 + 46)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ธีรยุทธ บุญมีและรางวัลศรีบูรพา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: