ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ธิติมา สังขพิทักษ์และนิรุตติ์ ศิริจรรยา
ธิติมา สังขพิทักษ์และนิรุตติ์ ศิริจรรยา มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชั่วฟ้าดินสลายชื่นชีวานาวีพ่อปลาไหลมัจจุราชสีน้ำผึ้งมนต์รักลูกทุ่งรักเล่ห์ เสน่ห์ลวงสี่แผ่นดินสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3ประเทศไทยแววมยุรา (นวนิยาย)เหยื่อมาร
ชั่วฟ้าดินสลาย
ั่วฟ้าดินสลาย เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..
ชั่วฟ้าดินสลายและธิติมา สังขพิทักษ์ · ชั่วฟ้าดินสลายและนิรุตติ์ ศิริจรรยา ·
ชื่นชีวานาวี
ื่นชีวานาวี เป็นนวนิยายของ กาญจนา นาคนันทน์ ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์แล้วหลายครั้ง โดยถูกนำมาสร้างครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ 35 มม.
ชื่นชีวานาวีและธิติมา สังขพิทักษ์ · ชื่นชีวานาวีและนิรุตติ์ ศิริจรรยา ·
พ่อปลาไหล
อปลาไหล เป็นนิยายตลก บทประพันธ์ของ กนกเรขา หรือ ทมยันตี ที่ตีพิมพ์ในนิตยสารสกุลไทย เป็นเรื่องราวของอุลิต ชายจอมเจ้าชู้ทีขึ้นชื่อว่า พ่อปลาไหล และ จันทนี ลูกสาวของขุนรอน ผู้หาญอาสากล้าแต่งงานเพื่อปราบพ่อปลาไหลอย่างอุลิต ในขณะที่หลวงณรงค์สงครามชัย พ่อของอุลิต ก็คิดจะเคลม น้าเพ็ญ น้องเมียของตนเอง หลังจากที่อุลิตแต่งงานแล้ว กลับหาช่องทางวางแผนที่จะหนีเที่ยวอยู่เรื่อยๆ โดยมีขุนรอนผู้เป็นพ่อตาของอุลิตและเป็นพ่อของจันทนี มาเป็นคู่หูร่วมด้วย พ่อปลาไหล ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายครั้ง ภาพยนตร์ฉบับที่มีชื่อเสียงที่สุด กำกับโดยเชิด ทรงศรี ออกฉายเมื่อ พ.ศ. 2515 เป็นภาพยนตร์ 16 มม.
ธิติมา สังขพิทักษ์และพ่อปลาไหล · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและพ่อปลาไหล ·
มัจจุราชสีน้ำผึ้ง
มัจจุราชสีน้ำผึ้ง เป็นบทประพันธ์ของ อุปถัมภ์ กองแก้ว เจ้าของบทประพันธ์ "ตลาดอารมณ์" เป็นเรื่องราวของความรักก็ไม่เคยรัก แต่ด้วยแรงผลักไสกับความต้องการตอบแทนผู้มีพระคุณ "รจนาไฉน" จึงจำยอมรับหมั้นชายหนุ่มผู้มีนามว่า "ปัทม์ ปัทมกุล" ด้วยความรักและหวงแหนในเกียรติยศ เขาจึงทนไม่ได้เมื่อรู้ความจริงว่า เธอไม่ใช่หญิงสาวที่เขาจะต้องแต่งงานด้วย แต่เธอยอมทอดตัวเข้ามาด้วยมารยาหญิง ดุจเถาไม้เลื้อยที่หวังเกาะเขาเท่านั้น เขาจำต้องรักษาหน้าและศักดิ์ศรีลูกผู้ชาย บทประพันธ์นี้มีการนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ อีกหลายต่อหลายครั้ง บทประพันธ์เรื่องนี้สร้างเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง และละครโทรทัศน์แล้วอีก 5 ครั้ง โดยครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์โดย พันธุ์เทพ อรรถไกวัลวที ถึง 2 ครั้ง ในปี 2517 (สมบัติ เมทะนี และ พิศมัย วิไลศักดิ์) และในปี 2525 (พิศาล อัครเศรณี และ มนฤดี ยมาภัย) และต่อมาสร้างเป็นละคร ในปี 2523 ทางช่อง 5 (สมภพ เบญจาธิกุล และ ธิติมา สังขพิทักษ์), ในปี 2529 ทางช่อง 3 (นิรุตติ์ ศิริจรรยา และ ลินดา ค้าธัญเจริญ), ในปี 2536 ทางช่อง 9 (จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์ และ ปัทมวรรณ เค้ามูลคดี), ในปี 2544 ทางช่อง 7 (นุติ เขมะโยธิน และ ศรุตา เรืองวิริยะ) และในปี 2556 ทางช่อง 3 (ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ และ พิจักขณา วงศารัตนศิลป์).
ธิติมา สังขพิทักษ์และมัจจุราชสีน้ำผึ้ง · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและมัจจุราชสีน้ำผึ้ง ·
มนต์รักลูกทุ่ง
มนต์รักลูกทุ่ง เป็นภาพยนตร์ไทยที่สร้างมาจากบทประพันธ์เรื่อง "มนต์รักลูกทุ่ง" ของ รังสี ทัศนพยัคฆ์ โดยใช้นามแฝงว่า "มหศักดิ์ สารากร" โดยมิตร ชัยบัญชา มีส่วนร่วมในเนื้อเรื่องด้วย คู่พระ-นาง คือไอ้คล้าว กับ ทองกวาว รับบทโดย มิตร ชัยบัญชา กับเพชรา เชาวราษฎร์ ส่วนคู่รอง คือแว่น กับบุปผา รับบทโดย ศรีไพร ใจพระ กับบุปผา สายชล ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายเมื่อวันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ทำรายได้ถล่มทลายจากทั่วประเทศถึง 13 ล้านบาทและฉายติดต่อกันนาน 6 เดือน ที่โรงภาพยนตร์โคลีเซียม จนถึงวันที่ 2 ตุลาคม..
ธิติมา สังขพิทักษ์และมนต์รักลูกทุ่ง · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและมนต์รักลูกทุ่ง ·
รักเล่ห์ เสน่ห์ลวง
รักเด็ก เสน่ห์เก ละครโทรทัศน์ทางช่อง 3 ผลิตโดย โนเล็นนางเอก ออกอากาศ วันจันทร์-อังคาร เวลา 20.30 น. โดยครั้งแรกวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ถูกนำมาออกอากาศอีกครั้งในวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 14.30-16.00 ช่วงปลายเดือนกันยายน 2552.
ธิติมา สังขพิทักษ์และรักเล่ห์ เสน่ห์ลวง · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและรักเล่ห์ เสน่ห์ลวง ·
สี่แผ่นดิน
ี่แผ่นดิน เป็นวรรณกรรมของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช มีเนื้อหาอิงประวัติศาสตร์ไทยในช่วงรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 8 นับเป็นวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเล่มหนึ่งของไทย โดยเขียนเป็นตอน ๆ ลงหนังสือพิมพ์สยามรัฐ รายวันระหว่างปี 2494-2495 ติดต่อกันเป็นเวลาปีเศษ ต่อมาได้รวบรวมพิมพ์เป็นเล่มขึ้นครั้งแรกในปี 2496 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการนิตยสารถนนหนังสือ ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม 2528 เรื่องลักษณะของตัวละครว่า "แม่พลอยเป็นคนที่ไม่มีสิทธิของผู้หญิงเลย ไม่เคยเรียก ไม่เคยร้อง แล้วแม่พลอยนี่เป็นคนที่เชยที่สุด คุณจะว่านางเอกก็นางเอก แต่เป็นคนเชยที่สุด แม่พลอยถ้าแกอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ แกก็ลูกเสือชาวบ้าน แกจะไปรำละครบ้าๆ บอๆ ถึงขนาดนั้น" และ "แม่พลอยเป็นคนเชยมากนะครับ เป็นคนอยู่ในกรอบ ใจดี ถูกจับคลุมถุงชนแต่งงานก็หลงรักคุณเปรมได้ ตามคติโบราณนั้นไม่เป็นไรหรอก แต่งไปก่อนแล้วรักกันเองทีหลัง แม่พลอยเป็นอย่างนั้นทุกอย่าง ที่นี้คนอ่านคนไทย ปลื้มอกปลื้มใจ เห็นแม่พลอยเป็นคนประเสริฐเลิศลอย ก็เพราะคนไทยก็เป็นคนแบบนั้น ยังไม่ได้ไปถึงไหนเลย คนอ่านส่วนมากก็เป็นระดับแม่พลอย (หัวเราะ) โง่ฉิบหายเล..จะบอกให้..สี่แผ่นดินถึงได้ดัง (หัวเราะ)".
ธิติมา สังขพิทักษ์และสี่แผ่นดิน · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและสี่แผ่นดิน ·
สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.
ธิติมา สังขพิทักษ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ·
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ธิติมา สังขพิทักษ์และประเทศไทย · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและประเทศไทย ·
แววมยุรา (นวนิยาย)
แววมยุรา เป็นบทประพันธ์ พนมเทียน เป็นนวนิยายในปี..
ธิติมา สังขพิทักษ์และแววมยุรา (นวนิยาย) · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและแววมยุรา (นวนิยาย) ·
เหยื่อมาร
หยื่อมาร เป็นละครโทรทัศน์แนวดราม่า-สยองขวัญ-ไสยศาสตร์ ผลิตโดย บริษัท ฮูแอนด์ฮู จำกัด จากบทประพันธ์ของ กษมา สุรพัฒน์ บทโทรทัศน์โดย พระจันทร์ พิมพ์ทอง กำกับการแสดงโดย ชูศักดิ์ สุธีรธรรม ออกอากาศทุกวันจันทร์– วันอังคาร เวลา 20.30 - 22.30 น. ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย ฉัตรชัย เปล่งพานิช, จินตหรา สุขพัฒน์, ทฤษฎี สหวงษ์, พัชรินทร์ ศรีวสุภิรมย์ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มตอนแรกวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2549– 31 ตุลาคม พ.ศ. 2549.
ธิติมา สังขพิทักษ์และเหยื่อมาร · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและเหยื่อมาร ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ธิติมา สังขพิทักษ์และนิรุตติ์ ศิริจรรยา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ธิติมา สังขพิทักษ์และนิรุตติ์ ศิริจรรยา
การเปรียบเทียบระหว่าง ธิติมา สังขพิทักษ์และนิรุตติ์ ศิริจรรยา
ธิติมา สังขพิทักษ์ มี 88 ความสัมพันธ์ขณะที่ นิรุตติ์ ศิริจรรยา มี 145 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 4.72% = 11 / (88 + 145)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ธิติมา สังขพิทักษ์และนิรุตติ์ ศิริจรรยา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: