ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์)กรุงเทพมหานครสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)เล็ก บุนนาคเหรียญรัตนาภรณ์เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ·
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ·
พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555) พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ·
พระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์)
ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี พระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) เป็นบุตรชายคนโตของเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)ผู้สำเร็จราชการเมืองพระตะบองคนสุดท้าย กับ คุณหญิงสอิ้ง คฑาธรธรณินทร์ (อภัยภูเบศร) พระยาอภัยภูเบศร เป็นพระชนกในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ ๖ และเป็นขรัวตาของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที.
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) · พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) ·
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
กรุงเทพมหานครและท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) · กรุงเทพมหานครและพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ·
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ นามเดิม ช่วง บุนนาค (พ.ศ. 2351 – พ.ศ. 2425) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของสยามในสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองการปกครองของสยาม โดยเริ่มเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่ง "สมเด็จเจ้าพระยา" เป็นคนสุดท้าย นอกจากนี้ ท่านยังมีบทบาทในการอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองสิริราชสมบัติและได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2416 ด้วย นอกจากด้านการปกครองแล้ว ท่านยังมีบทบาทสำคัญในด้านวรรณกรรม การละคร และดนตรี รวมถึงเป็นแม่กองในการก่อสร้าง บูรณะ ซ่อมแซม สถานที่ต่าง ๆ มากมาย เช่น พระนครคีรี พระอภิเนาว์นิเวศน์ คลองผดุงกรุงเกษม เป็นต้น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์มีชีวิตยืนยาวถึง 5 รัชกาล ตั้งแต่เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และถึงแก่พิราลัยด้วยโรคลมขณะที่กำลังเดินทางกลับจากราชบุรี เมื่อ พ.ศ. 2425 ในสมัยต้นรัชกาลที่ 5 โดยมีอายุยืนยาวถึง 74 ปี.
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) · พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ·
เล็ก บุนนาค
ณเล็ก บุนนาค เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) และเป็นพระมารดาในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีในรัชกาลที่ 6.
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และเล็ก บุนนาค · พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและเล็ก บุนนาค ·
เหรียญรัตนาภรณ์
หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และเหรียญรัตนาภรณ์ · พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและเหรียญรัตนาภรณ์ ·
เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)
้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) (พ.ศ. 2371 - พ.ศ. 2431) มีนามเดิมว่า วร หรือ วอน เป็นบุตรชายใหญ่ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) กับท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาหลวงแก้วอายัติ (จาด) ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตามพระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2403 ต่อมาท่านได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ จางวางมหาดเล็ก และเป็นราชทูต ไปฝรั่งเศสอีกครั้งใน พ.ศ. 2409 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ ที่สมุหพระกลาโหม ศักดินา 10,000 เมื่อ พ.ศ. 2412 ท่านดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เป็นเวลา 19 ปี จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2431 บุคคลทั่วไปออกนามเรียกเป็นการสามัญว่า “เจ้าคุณทหาร” หรือ “เจ้าคุณกลาโหม” และชื่อเรียกนี้ก็กลายมาเป็นชื่อของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในเวลาต่อมา เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 65 คน โดยบุตรธิดาที่รับราชการในตำแหน่งสำคัญ เช่น.
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) · พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) ·
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
การเปรียบเทียบระหว่าง ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) มี 24 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี มี 100 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 8.06% = 10 / (24 + 100)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: