โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ท่าอากาศยานเชียงใหม่และนิวเจนแอร์เวส์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ท่าอากาศยานเชียงใหม่และนิวเจนแอร์เวส์

ท่าอากาศยานเชียงใหม่ vs. นิวเจนแอร์เวส์

มุมสูงของท่าอากาศยานเชียงใหม่ มองจากวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร ภายในอาคารท่าอากาศยานเชียงใหม่ Boeing 737-800 ของสายการบินนกแอร์ ที่สนามบินเชียงใหม่ Airbus A319 ของสายการบินบางกอกแอร์เวย์ ที่สนามบินเชียงใหม่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ หรือสนามบินเชียงใหม่ (Chiang Mai International Airport) ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ 4 กิโลเมตร ในตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติ 1 ในจำนวนทั้งหมด 6 แห่ง ที่ดำเนินงานโดยบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เป็นศูนย์กลางทางการบินของภาคเหนือ โดยมีเที่ยวบินเข้าออกหนาแน่นเป็นลำดับสี่ รองจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยานภูเก็ต. การบินนิวเจนแอร์เวย์ เป็นสายการบินของบริษัท นิวเจน แอร์เวย์ส จำกัด (ชื่อเดิม: บริษัท สบายดีแอร์เวย์ส จำกัด) เป็นสายการบินนานาชาติของไทยที่มุ่งเน้นเที่ยวบินจากประเทศไทยไปยังประเทศจีน มีการให้บริการทั้งแบบปกติและแบบเช่าเหมาลำ โดยมีท่าอากาศยานหลัก 6 แห่งคือ ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง, ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่, ท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานี, ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา-พัทยา ระยอง, ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต และ ท่าอากาศยานนครราชสีมา รวมเป็น จุดหมายปลายทาง 30 เมืองในประเทศจีน โดยนิวเจนแอร์เวย์ได้เปิดทำการบินเส้นทางในประเทศเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2560 ในเส้นทาง นครราชสีมา, ภูเก็ต, เชียงใหม่ และ ดอนเมือง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท่าอากาศยานเชียงใหม่และนิวเจนแอร์เวส์

ท่าอากาศยานเชียงใหม่และนิวเจนแอร์เวส์ มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ท่าอากาศยานภูเก็ตท่าอากาศยานดอนเมืองท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานีท่าอากาศยานนานาชาติอู่ฮั่นท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)ท่าอากาศยานนานาชาติเทียนจินปินไห่ท่าอากาศยานนครราชสีมา

ท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต หรือ สนามบินภูเก็ต เป็นสนามบินตั้งอยู่ที่ เหนือสุดของเกาะภูเก็ตเป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินหนาแน่นเป็นอันดับที่สามของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง มีเที่ยวบินทั้งในและต่างประเทศ บินมาลงทุกวัน ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีมาตรฐานทั้งในด้านการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ตั้งอยู่เลขที่ 222 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4026 ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ห่างจากตัวเมืองภูเก็ตประมาณ 32 กิโลเมตร เนื้อที่โดยประมาณ 94,800 ตารางเมตร แท๊กซี่เวย์ 8 จุด ทิศเหนือเป็นภูเขา ทิศใต้เป็นสวนยางพารา ทิศตะวันตกเป็นชายฝั่งทะเลอันดามัน สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 6,500,000 คนต่อปี โดยในปี..

ท่าอากาศยานภูเก็ตและท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานภูเก็ตและนิวเจนแอร์เวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานดอนเมือง

แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 โดยปิดตัวลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 วันเดียวกับที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดใช้งาน โดยสนามบินดอนเมืองถูกเปลี่ยนเป็นสถานที่ซ่อมเครื่องบิน ฝึกบิน และสำหรับจอดเครื่องบินส่วนตัวของบุคคลสำคัญ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาให้บริการเที่ยวบินแบบประจำ (scheduled flight) เที่ยวบินในประเทศอีกครั้งโดยมี สายการบินไทย นกแอร์ วันทูโก และพีบีแอร์มาเปิดให้บริการในลำดับแรก หลังจากพบปัญหาหลายอย่างที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาเปิดให้บริการในฐานะสนามบินนานาชาติแห่งที่สองอีกครั้ง เนื่องด้วยนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรต้องการลดความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิลง ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมือง รับเที่ยวบิน จาก ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสิงคโปร์ ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ประเทศไต้หวัน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินเดีย ประเทศมัลดีฟส์ ฮ่องกง ประเทศฟิลิปปินส์ มาเก๊า และล่าสุด ประเทศเนปาล รวม 14 ประเทศ ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศสำหรับท่าอากาศยานดอนเมืองมีเที่ยวบินภายในประเทศบริการบินไปกลับ จาก ท่าอากาศยานแพร่ ท่าอากาศยานตรัง ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด ท่าอากาศยานนครพนม ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานระนอง ท่าอากาศยานสกลนคร ท่าอากาศยานพิษณุโลก ท่าอากาศยานบุรีรัมย์ ท่าอากาศยานน่านนคร ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน ท่าอากาศยานแม่สอด และ ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ ซึ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไม่มีบริการใน 13 จังหวัดดังกล่าว ใน 13 จังหวัดดังกล่าวมีเที่ยวบินให้บริการที่ ท่าอากาศยานดอนเมืองเท่านั้น.

ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานดอนเมืองและนิวเจนแอร์เวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่

ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ หรือ สนามบินกระบี่ (Krabi International Airport) ตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม ตำบลเหนือคลอง อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ระหว่างอำเภอเมืองกระบี่กับอำเภอเหนือคลอง ไปทางจังหวัดตรัง เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม.

ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่และท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่และนิวเจนแอร์เวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานี

ท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานี หรือ สนามบินสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ที่เลขที่ 73 หมู่ที่ 3 ตำบลหัวเตย อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม อาคารผู้โดยสารมีพื้นที่ 14,196 ตารางเมตร สามารถรองรับผู้โดยสารขาเข้าและขาออกได้ 784 คนต่อชั่วโมง รองรับจำนวนผู้โดยสารได้ 6,272 คนต่อวัน ลานจอดเครื่องบินมีพื้นที่ 120×375 เมตร รองรับเครื่องบินได้ 40 เที่ยวบินต่อวัน มีหลุมจอดเครื่องบิน 5 หลุม หลุมจอดเฮลิคอปเตอร์ 2 หลุม.

ท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานีและท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานีและนิวเจนแอร์เวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ฮั่น

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ฮั่น (จีน: 武漢天河國際機場, พินอิน: Wǔhàn Tiānhé Guójì Jīchǎng) เป็นสนามบินพาณิชย์ในอู่ฮั่น ประเทศจีน.

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ฮั่นและท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ฮั่นและนิวเจนแอร์เวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา) (U-Tapao International Airport) หรือมักเรียกกันว่า สนามบินอู่ตะเภา เป็นสนามบินตั้งอยู่ในพื้นที่ ตำบลพลา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงเทพมหานคร อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 13 เมตร ห่างจากจังหวัดระยองประมาณ 30 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 190 กิโลเมตร ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ กองการบินทหารเรือ, กองเรือยุทธการ และ กองการสนามบินอู่ต.

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)และท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)และนิวเจนแอร์เวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเทียนจินปินไห่

ท่าอากาศยานนานาชาติเทียนจินปินไห่ (อังกฤษ: Tianjin Binhai International Airport, จีนตัวย่อ: 天津滨海国际机场, พินอิน: Tiānjīn Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองเทียนจิน เป็นศูนย์กลางสำคัญในด้านการขนส่งสินค้าทางอากาศของจีน โดยในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติเทียนจินปินไห่และท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานนานาชาติเทียนจินปินไห่และนิวเจนแอร์เวส์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนครราชสีมา

ท่าอากาศยานนครราชสีมา หรือ สนามบินโคราช (Nakhon Ratchasima Airport) ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่าช้าง อ.เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติหนองเต็ง-จักราช ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองนครราชสีมาไปทางทิศเหนือระยะทางประมาณ 26 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 4,625 ไร่ เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม สร้างขึ้นเพื่อใช้แทนท่าอากาศยานกองบิน 1 นครราชสีมา ซึ่งเป็นท่าอากาศยานของกองทัพอากาศ ท่าอากาศยานนครราชสีมาได้รับการประกาศให้เป็นท่าอากาศยานศุลกากร สามารถรองรับเที่ยวบินระหว่างประเทศได้.

ท่าอากาศยานนครราชสีมาและท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานนครราชสีมาและนิวเจนแอร์เวส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ท่าอากาศยานเชียงใหม่และนิวเจนแอร์เวส์

ท่าอากาศยานเชียงใหม่ มี 83 ความสัมพันธ์ขณะที่ นิวเจนแอร์เวส์ มี 34 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 6.84% = 8 / (83 + 34)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ท่าอากาศยานเชียงใหม่และนิวเจนแอร์เวส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »