โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮม

ดัชนี ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮม

ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮม (Birmingham International Airport) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมืองเบอร์มิงแฮมไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 5.5 nautical mile ที่หมู่บ้าน Bickenhill ใน Metropolitan Borough of Solihull มณฑล West Midlands อังกฤษ ใน..

33 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2482พ.ศ. 2503ยางมะตอยยูเอสแอร์เวย์ลุฟต์ฮันซาสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์สงครามโลกครั้งที่สองอนุทวีปอินเดียทวีปยุโรปทวีปอเมริกาเหนือท่าอากาศยานลอนดอนลูตันท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ท่าอากาศยานลอนดอนแกตวิกท่าอากาศยานซือริชท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอีท่าอากาศยานนานาชาติดูไบท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ตท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ท่าอากาศยานโคเปนเฮเกนตะวันออกกลางประเทศอังกฤษแอร์ฟรานซ์แคริบเบียนไซปรัสแอร์เวย์เบอร์มิงแฮมเอมิเรตส์แอร์ไลน์เคแอลเอ็มเตอร์กิชแอร์ไลน์เติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์1 มกราคม1 เมษายน8 กรกฎาคม

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

ยางมะตอย

งมะตอย โรงงานยางมะตอยสำหรับการทำยางมะตอย ถนนลาดยาง มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ได้ทดลองระดับลดลงการแสดงให้เห็นความหนืดของยางมะตอย ยางมะตอยเป็นวัสดุที่สกัดจากน้ำมันดิบ มีสีดำ มีลักษณะเหนียวและความหนืดต่ำ ยางมะตอยนิยมมาใช้ในงานก่อสร้างถนน โดยใช้เป็นวัสดุผิวหน้า ซึ่งคุณสมบัติที่สำคัญของยางมะตอยทำหน้าที่ประสานระหว่างวัสดุเติมเช่นหินและทราย เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน โดยวัสดุที่นำมาใช้ในการเทผิวหน้าถนนจะเรียกชื่อเต็มว่า แอสฟอลต์คอนกรีต (asphalt concrete) และมักย่อว่า แอสฟอลต์ ภาษาอังกฤษเรียกยางมะตอยว่า แอสฟอลต์ (อเมริกัน) หรือ แอสแฟลต์ (บริเตน) (asphalt) ซึ่งมาจากภาษากรีกคำว่า άσφαλτος (asphaltos) ส่วนภูมิภาคอื่นอาจเรียกว่า ไบทูเมน, ไบทิวเมน, บิทูเมน, บิชูเมน (bitumen).

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและยางมะตอย · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอสแอร์เวย์

ูเอสแอร์เวย์ เป็นสายการบินต้นทุนต่ำสัญชาติอเมริกัน และยังเป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่อันดับ 5 ของสหรัฐอเมริกา ให้บริการ 241 จุดหมายปลายทาง ไปยังแคริบเบียน, ยุโรป, อเมริกากลาง, อเมริกาเหนือ และฮาวาย ยูเอสแอร์เวย์ มีท่าอากาศยานหลักอยู่ที่ชาร์ล็อตต์, ฟิลาเดลเฟีย, ฟีนิกซ์ และลาสเวกัส และยังมีท่าอากาศยานรองอยู่ที่พิตส์เบิร์ก รวมถึงเมืองสำคัญอย่างนิวยอร์ก-ลากวาเดีย, วอชิงตัน-เรแกน และบอสตัน ยูเอสแอร์เวย์ยังให้บริการในชื่อยูเอสแอร์เวย์ชัตเทิล และยูเอสแอร์เวย์เอ็กซ์เพรส และเมื่อวันที่ 27 กันยายน..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและยูเอสแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ลุฟต์ฮันซา

อาคารสำนักงานลุฟท์ฮันซา ลุฟท์ฮันซา (Lufthansa) เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนี ใหญ่เป็นอันดับสองในยุโรปรองจากกลุ่มแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม และใหญ่เป็นอันดับห้าของโลกในจำนวนผู้โดยสาร ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและลุฟต์ฮันซา · ดูเพิ่มเติม »

สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์

The head office of Swiss International Air Lines สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ (อังกฤษ: Swiss International Air Lines) เป็นสายการบินของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นบริษัทลูกของลุฟต์ฮันซา มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานซูริค ให้บริการสู่จุดหมายปลายทางในทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แอฟริกา และเอเชีย สายการบินลุฟท์ฮันซ่าของเยอรมนีตกลงเข้าซื้อกิจการของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชั่นแนลแอร์ไลน์ คณะกรรมการบริหารของสองบริษัทเป็นผู้ประกาศข่าวหลังจากประชุมกันตลอดวัน ตามข้อตกลง ลุฟท์ฮันซ่าจะควักกระเป๋าซื้อสายการบินสวิส ซึ่งผู้ถือหุ้นใหญ่ที่สุดคือรัฐบาลสวิตเซอร์แลนด์ เป็นเงิน 310 ล้านยูโรหรือประมาณ 400 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สวิสอินเตอร์เนชั่นแนลแอร์ไลน์ก่อตั้งขึ้นหนึ่งปีหลังจากสายการบินสวิสแอร์ล้มละลายเมื่อปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

อนุทวีปอินเดีย

วเทียมของอนุทวีปอินเดีย อนุทวีปอินเดีย เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ในเอเชียใต้ เป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ, ปากีสถาน, ศรีลังกา รวมทั้งบางส่วนของประเทศเนปาล, ภูฏาน, พม่า, ไทย, และดินแดนบางส่วนที่อยู่ภายใต้การปกครองของจีน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและอนุทวีปอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและทวีปอเมริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานลอนดอนลูตัน

ท่าอากาศยานลอนดอนลูตัน (London Luton Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองลูตัน ในเบดฟอร์ดเชอร์ ประเทศอังกฤษ รองรับการจราจรทางอากาศยานของกรุงลอนดอน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและท่าอากาศยานลอนดอนลูตัน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ (London Heathrow Airport) หรือมักเรียกโดยย่อว่า ฮีทโธรว์ เป็นท่าอากาศยานที่มีการจราจรทางอากาศหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของประเทศสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ในกรณีของจำนวนผู้โดยสาร และเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของโลก ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ ดำเนินการโดย บริษัท ท่าอากาศยานอังกฤษ จำกัด (เดิมคือ องค์การท่าอากาศยานแห่งประเทศอังกฤษ) ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองฮิลลิงดอน ห่างจากตัวเมืองของกรุงลอนดอนประมาณ 24 กิโลเมตร (15 ไมล์) เป็นหนึ่งในสามของท่าอากาศยานที่อยู่ในเขตของกรุงลอนดอนและปริมณฑล อีกสองแห่งก็คือ ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี และท่าอากาศยานลอนดอนบิกกิงฮิล ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์มีทางวิ่งขนานกัน 2 ทางวิ่ง ตามแนวทิศตัวออกและทิศตะวันตก และ มีอาคารผู้โดยสาร 4 อาคาร โดยอาคารที่ 5 กำลังก่อสร้าง และยังมีแผนปรับปรุงอาคารผู้โดยสารฝั่งตะวันออกใหม่ รวมทั้งเพิ่มทางวิ่งอีกหนึ่งเส้นทางด้ว.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานลอนดอนแกตวิก

ท่าอากาศยานลอนแกตวิก (London Gatwick Airport) เป็นท่าอากาศยานขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของลอนดอน และเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นเป็นอันดับสองของของสหราชอาณาจักร เป็นรองจากฮีทโธรว์ และยังได้ชื่อว่าเป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุดที่มีทางวิ่งให้บริการเพียงเส้นเดียว เป็นท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุดเป็นอับดับ 22 (เป็นอับดับที่ 7 ในกรณีจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ) ของโลกในกรณีจำนวนผู้โดยสารต่อปี ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่ ครอว์เลย์ เวสต์ ซัสเซ็ก ห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือประมาณ 5 กิโลเมตร (3 ไมล์) ห่างจากกรุงลอนดอนไปทางใต้ประมาณ 46 กิโลเมตร (28 ไมล์) และทางเหนือของบริงตันประมาณ 40 กิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและท่าอากาศยานลอนดอนแกตวิก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานซือริช

ท่าอากาศยานซือริช (Zurich Airport) หรือที่รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า ท่าอากาศยานโคลเทิน (Kloten Airport) ตั้งอยู่ในเมืองโคลเทิน, รัฐซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บริหารโดย Unique Airport เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในสวิตเซอร์แลนด์ และเป็นศูนย์กลางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ มี Skyguide รับผิดชอบการควบคุมการจราจรทางอากาศทั้งหมดในท่าอากาศยาน ใน พ.ศ. 2551 ท่าอากาศยานซือริชมีผู้โดยสารมาใช้บริการราว 22.1 ล้านคน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและท่าอากาศยานซือริช · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอี

ท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei International) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ในเมืองปิซา อิตาลี เป็นหนึ่งในท่าอากาศยานหลักของแคว้นทัสกานี โดยอีกแห่งหนึ่งคือท่าอากาศยานเปเรโตลาในฟลอเรนซ์ ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งชื่อตามกาลิเลโอ กาลิเลอี นักวิทยาศาสตร์ชาวเมืองปิซาที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ในย่านซานจุสโต ห่างจากสถานีรถไฟกลางไม่ถึง 2 กิโลเมตร ค่อนข้างใกล้กับศูนย์กลางของเมือง ท่าอากาศยานแห่งนี้เชื่อมต่อกับสถานีรถไฟกลางด้วยรถไฟและรถประจำทาง และยังเชื่อมต่อไปถึงสถานีรถไฟซานตามาเรียโนเวลลา ในฟลอเรนซ์อีกด้วย นอกจากจะใช้ในกิจการพลเรือนแล้ว ท่าอากาศยานแห่งนี้ยังถูกใช้เป็นฐานจอดเครื่องบิน C-130 Hercules และ C-27J Spartan ของกองทัพอากาศอิตาลี.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและท่าอากาศยานนานาชาติกาลิเลโอ กาลิเลอี · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ (อาหรับ: مطار دبي الدولي) ตั้งอยู่ที่ดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเอมิเรตส์แอร์ไลน.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล

ท่าอากาศยานปารีส-ชาร์ล เดอ โกล (Paris-Charles de Gaulle Airport; Aéroport Paris-Charles-de-Gaulle) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานรัวซี (Roissy) ตั้งอยู่ที่รัวซี กรุงปารีส ฝรั่งเศส อยู่ห่างจากตัวเมืองปารีสไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 25 กิโลเมตร นับเป็นประตูสำคัญในการเดินทางเข้าออกประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ฟรานซ์ด้วย ท่าอากาศยานแห่งนี้ ตั้งชื่อตามชาร์ล เดอ โกล วีรบุรุษ และผู้นำขบวนการปลดปล่อยฝรั่ง.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต

ท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต (เยอรมัน: Rhein-Main-Flughafen หรือ Flughafen Frankfurt am Main, อังกฤษ: Frankfurt Airport) ตั้งอยู่ที่แฟรงก์เฟิร์ต เยอรมนี เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของเยอรมนี และใหญ่เป็นอันดับ 3 ของยุโรป แฟรงก์เฟิร์ตเป็นท่าอากาศยานหลักของลุฟต์ฮันซา สายการบินแห่งชาติเยอรมนี แต่ลุฟต์ฮันซาต้องแบ่งการให้บริการไปยังท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิกบางส่วน เนื่องจากความสามารถในการรองรับที่จำกัดของแฟรงก์เฟิร์ต.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์

ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ (Manchester Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของ แมนเชสเตอร์ อังกฤษ เปิดให้บริการเมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานโคเปนเฮเกน

ท่าอากาศยานโคเปนเฮเกน (Københavns Lufthavn, Kastrup) เป็นท่าอากาศยานที่รองรับการจราจรทางอากาศกรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก และเป็นท่าอากาศยานสำคัญและมีผู้ใช้บริการมากที่สุดในกลุ่มประเทศนอร์ดิก อีกทั้งยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสแกนดิเนเวียน แอร์ไลน์ ซิสเต็ม เดิมทีท่าอากาศยานแห่งนี้ชื่อว่า ท่าอากาศยานกาสทรัป ตามเมืองที่ท่าอากาศยานตั้งอยู่ และชื่ออย่างเป็นทางการก็ยังคงใช้ชื่อว่า ท่าอากาศยานโคเปนเฮเกน กาสทรัป เพื่อมิให้สับสนกับท่าอากาศยานรอสคิลเดอร์ ซึ่งมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ท่าอากาศยานโคเปนเฮเกน รอสคิลเดอร.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและท่าอากาศยานโคเปนเฮเกน · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันออกกลาง

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและตะวันออกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ฟรานซ์

แอร์ฟรานซ์ (Air France) (Compagnie Nationale Air France) เป็นสายการบินหนึ่งของแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม (Air France-KLM) แอร์ฟรานซ์เป็นสายการบินประจำชาติของฝรั่งเศส ปัจจุบันได้เข้าร่วมกิจการกับสายการบินเคแอลเอ็ม (KLM) สายการบินประจำชาติของเนเธอร์แลนด์ โดยใช้ชื่อว่า "แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม" และแอร์ฟรานซ์เป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งของเครือข่ายพันธมิตรสายการบินสกายทีม.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและแอร์ฟรานซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แคริบเบียน

แคริเบียน (The Caribbean) เป็นกลุ่มประเทศและหมู่เกาะต่างในเขตทะเลแคริเบียนซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเม็กซิโก ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเวเนซูเอลา มีรัฐอยู่ราวๆ 25 รัฐซึ่งรวมรัฐอิสระและรัฐภายใต้ความคุ้มครอง (dependencies).

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและแคริบเบียน · ดูเพิ่มเติม »

ไซปรัสแอร์เวย์

ซปรัสแอร์เวย์ (Κυπριακές Αερογραμμές, Kypriakés Aerogrammés - CY) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศไซปรัส มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นิโคเซีย ให้บริการใน 28 จุดหมายปลายทางในทวีปยุโรป ตะวันออกกลาง ทวีปแอฟริกา และกลุ่มประเทศบริเวณอ่าวเปอร์เซีย มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติลาร์นากา เมืองลาร์นากา ประเทศไซปรั.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและไซปรัสแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์มิงแฮม

แผนที่แสดงที่ตั้งเมืองเบอร์มิงแฮม ตัวเมืองเบอร์มิงแฮม เบอร์มิงแฮม (Birmingham, เบอมิงงัม) เป็นนครและเขตเมืองในภาคเวสต์มิดแลนด์สของอังกฤษ สหราชอาณาจักร ซึ่งหลายฝ่ายพิจารณาว่าเป็นเมืองรองของอังกฤษ แม้คำอ้างนี้จะถูกท้าทายจากผู้สนับสนุนเมืองแมนเชสเตอร์ เบอร์มิงแฮมเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดใน กลุ่มนครหลัก (core cities) ของอังกฤษ มีประชากรประมาณ 992,400 คน (ตัวเลขประมาณการเมื่อ ค.ศ. 2004) www.birmingham.gov.uk มากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากกรุงลอนดอน ชื่อเสียงของเมืองมาจากการเป็นเรี่ยวแรงสำคัญในการปฏิวัติอุตสาหกรรมของประเทศ จนได้รับการขนานนามว่า "โรงงานของโลก" ปัจจุบัน ผลผลิตที่ได้จากเบอร์มิงแฮมและเขตโดยรอบคิดเป็นมูลค่ามากกว่าร้อยละ 25 ของยอดการส่งออกทั้งหมดของประเทศ เบอร์มิงแฮมเป็นเมืองที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม จากการสำรวจเมื่อ..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและเบอร์มิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตส์แอร์ไลน์

แอร์บัส เอ 380 F-WWDD โดยใช้ลายเครื่องของเอมิเรตส์ ในงานดูไบแอร์โชว์ เมื่อพ.ศ. 2548 เอมิเรตส์แอร์ไลน์ (อาหรับ: طيران الإمارات) เป็นสายการบินของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ให้บริการไปยัง 87 จุดหมายปลายทางใน 59 ประเทศทั่วโลก และยังให้บริการขนส่งสินค้าภายใต้ชื่อเอมิเรตส์ สกายคาร์โก โดยให้บริการหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติดู.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและเอมิเรตส์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เคแอลเอ็ม

KLM head office เคแอลเอ็ม โรยัลดัตช์ แอร์ไลน์ (Koninklijke Luchtvaart Maatschappij; หมายถึง Royal Aviation Company) เป็นบริษัทลูกของแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม โดยก่อนที่จะควบรวมกับแอร์ฟรานซ์นั้น เคแอลเอ็มเป็นสายการบินแห่งชาติของเนเธอร์แลนด์ มีท่าอากาศยานหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัม สคิปโฮล แอร์ฟรานซ์ได้เข้าซื้อกิจการเคแอลเอ็มเมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและเคแอลเอ็ม · ดูเพิ่มเติม »

เตอร์กิชแอร์ไลน์

ำนักงานใหญ่ของเตอร์กิชแอร์ไลน์ เตอร์กิชแอร์ไลน์ (Türk Hava Yolları; Turkish Airlines) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศตุรกี ก่อตั้งในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1933 ให้บริการภายในประเทศ 50 เส้นทาง และในต่างประเทศ 242 เส้นทาง ทั้งในทวีปยุโรป เอเชีย แอฟริกา และอเมริกา ใน ค.ศ. 2017 มีผู้ใช้บริการกว่า ล้านคน สายการบินนี้ให้บริการทั้งชั้นธุรกิจและชั้นประหยัด ได้รับรางวัล "สายการบินที่ดีที่สุดในยุโรป" 6 ปีซ้อนจากสกายแทร็กซ์ และเป็นหนึ่งในสมาชิกของพันธมิตรในกลุ่มสตาร์ อัลไลแอนซ.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและเตอร์กิชแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์

ติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์ (Türkmenhowaýollary) เป็นสายการบินแห่งชาติของเติร์กเมนิสถาน มีฐานหลักที่ อาชกาบัต สายการบินมีท่าอากาศยานหลักคือที่ ท่าอากาศยานนานาชาติอาชกาบัต.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและเติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 กรกฎาคม

วันที่ 8 กรกฎาคม เป็นวันที่ 189 ของปี (วันที่ 190 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 176 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมและ8 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »