โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า vs. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า (จีนตัวเต็ม: 澳門國際機場, โปรตุเกส: Aeroporto Internacional de Macau) เป็นท่าอากาศยานแห่งเดียวในเขตบริหารพิเศษมาเก๊า ประเทศจีน ตั้งอยู่ปลายสุดของเกาะไทปา เปิดใช้งานเมื่อปี.. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มี 24 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์การบินไทยสมายล์มาเก๊าอีวีเอแอร์ฮ่องกงจินแอร์ท่าอากาศยานท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีท่าอากาศยานดอนเมืองท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งท่าอากาศยานนานาชาติปีนังท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียนท่าอากาศยานเชียงใหม่ประเทศจีนแอร์มาเก๊าแอร์ไชนาไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ไทยแอร์เอเชีย

ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์

ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์ เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นสายการบินพาณิชย์ที่เก่าแก่ที่สุดในทวีปเอเชียที่ยังใช้ชื่อเดิม ก่อตั้งในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและฟิลิปปินส์แอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและฟิลิปปินส์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

การบินไทยสมายล์

การบินไทยสมายล์ เป็นสายการบินในประเทศไทยและต่างประเทศ ซึ่งดำเนินการโดยบริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด (มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจตาม พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502) ยังเป็นบริษัทในเครือการบินไทย (ถือหุ้นร้อยละ 100) โดยเริ่มบินระหว่างประเทศเที่ยวแรกไปยังมาเก๊า เมื่อวันเสาร์ที่ 7 กรกฎาคม..

การบินไทยสมายล์และท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · การบินไทยสมายล์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

มาเก๊า

ตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Macao Special Administrative Region of the People's Republic of China, เรียกสั้น ๆ ว่า มาเก๊า ในภาษาอังกฤษเขียนเป็น Macau และ Macao, อ้าวเหมิน; 馬交 ก็เรียก) เป็นพื้นที่บนชายฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ปกครองโดยประเทศโปรตุเกสก่อนพ.ศ. 2542 เป็นอาณานิคมของยุโรปที่เก่าแก่ที่สุดในจีน ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 อำนาจอธิปไตยเหนือมาเก๊าได้ย้ายไปที่สาธารณรัฐประชาชนจีนในพ.ศ. 2542 กลายเป็นเขตปกครองพิเศษของจีน มาเก๊าได้มีบทบาทที่มีอิทธิพลต่อจีนและตะวันตกโดยเฉพาะระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ คริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ที่อาศัยอยู่ในมาเก๊าส่วนใหญ่พูดภาษากวางตุ้งเป็นภาษาแม่ ภาษาแมนดาริน ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษก็มีพูดด้วย โดยกว้าง ๆ ชาวมาเก๊า (Macanese) หมายถึงผู้ที่พำนักอาศัยถาวรอยู่ในมาเก๊า ส่วนในวงแคบ หมายถึง ชนพื้นเมืองในมาเก๊าที่สืบทอดมาจากชาวโปรตุเกส มักจะผสมกับชาวจีนและบรรพบุรุษชาติอื่น ๆ นอกจากสิ่งที่เหลือจากประวัติศาสตร์ยุคอาณานิคมแล้ว.

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและมาเก๊า · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและมาเก๊า · ดูเพิ่มเติม »

อีวีเอแอร์

ำนักงานใหญ่อีวีเอแอร์ แอร์บัส เอ 330-200ในลวดลายการ์ตูนคิตตี้ของอีวีเอแอร์ '''ตราสัญลักษณ์สายการบิน อีวีเอแอร์''' อีวีเอแอร์ (จีน: 長榮航空 Chángróng Hángkōng อังกฤษ: EVA Air อ่าน "อี-วี-เอ-แอร์") เป็นสายการบินสัญชาติไต้หวัน บริหารงานโดยเอเวอร์กรีนกรุ๊ป ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจขนส่งขนาดใหญ่ของไต้หวัน ให้บริการเที่ยวบินโดยสาร และเที่ยวบินขนส่งสินค้าในชื่อ อีวีเอแอร์ คาร์โก จากท่าอากาศยานหลักที่ไต้หวันเถาหยวน นอกจากนี้ยังมีสายการบินลูก ยูนิแอร์ ให้บริการเส้นทางท้องถิ่น และมีสายการบินอย่างไชน่าแอร์ไลน์เป็นคู่แข่งสำคัญ.

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและอีวีเอแอร์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและอีวีเอแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและฮ่องกง · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

จินแอร์

ริษัท จินแอร์ จำกัด เป็นสายการบินต้นทุนต่ำสัญชาติเกาหลี ปัจจุบันให้บริการเที่ยวบินไปยังจุดหมายปลายทางในประเทศ 6 แห่ง และต่างประเทศ 26 แห่ง สายการบินมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่โซล โดยชื่อของสายการบินมีการเปิดตัวครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน..

จินแอร์และท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · จินแอร์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยาน

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยาน คือ สถานที่สำหรับจอดอากาศยาน เพื่อ ขนส่งผู้โดยสาร ขนส่งสินค้า ซ่อมแซม บำรุงรักษา และแวะพัก โดยท่าอากาศยาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ ท่าอากาศยานพาณิชย์ และท่าอากาศยานทางการทหาร.

ท่าอากาศยานและท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · ท่าอากาศยานและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินชางงี ตั้งอยู่ในเขตชางงี เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์, สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก, ซิลค์แอร์, ไทเกอร์แอร์เวย์, เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ และแวลูแอร์ ในปี พ.ศ. 2549 ท่าอากาศยานแห่งนี้รองรับผู้โดยสารจำนวนถึง 35 ล้านคน เพิ่มมากขึ้น 8% จากปีงบประมาณ 2548..

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี · ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานดอนเมือง

แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 โดยปิดตัวลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 วันเดียวกับที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดใช้งาน โดยสนามบินดอนเมืองถูกเปลี่ยนเป็นสถานที่ซ่อมเครื่องบิน ฝึกบิน และสำหรับจอดเครื่องบินส่วนตัวของบุคคลสำคัญ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาให้บริการเที่ยวบินแบบประจำ (scheduled flight) เที่ยวบินในประเทศอีกครั้งโดยมี สายการบินไทย นกแอร์ วันทูโก และพีบีแอร์มาเปิดให้บริการในลำดับแรก หลังจากพบปัญหาหลายอย่างที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาเปิดให้บริการในฐานะสนามบินนานาชาติแห่งที่สองอีกครั้ง เนื่องด้วยนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรต้องการลดความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิลง ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมือง รับเที่ยวบิน จาก ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสิงคโปร์ ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ประเทศไต้หวัน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินเดีย ประเทศมัลดีฟส์ ฮ่องกง ประเทศฟิลิปปินส์ มาเก๊า และล่าสุด ประเทศเนปาล รวม 14 ประเทศ ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศสำหรับท่าอากาศยานดอนเมืองมีเที่ยวบินภายในประเทศบริการบินไปกลับ จาก ท่าอากาศยานแพร่ ท่าอากาศยานตรัง ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด ท่าอากาศยานนครพนม ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานระนอง ท่าอากาศยานสกลนคร ท่าอากาศยานพิษณุโลก ท่าอากาศยานบุรีรัมย์ ท่าอากาศยานน่านนคร ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน ท่าอากาศยานแม่สอด และ ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ ซึ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไม่มีบริการใน 13 จังหวัดดังกล่าว ใน 13 จังหวัดดังกล่าวมีเที่ยวบินให้บริการที่ ท่าอากาศยานดอนเมืองเท่านั้น.

ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · ท่าอากาศยานดอนเมืองและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (Lapangan Terbang Antarabangsa Kuala Lumpur) ตั้งอยู่ที่เขตเซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 กิโลเมตร เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เพื่อใช้เป็นท่าอากาศยานหลัก แทน ท่าอากาศยานสุลต่านอับดุล อาซิส ซาห์ (ซูบัง) ซึ่งตั้งห่างอยู่ทางทิศเหนือ (ปัจจุบันเปิดทำการในสายภายในประเทศ และเครื่องบินขนาดเล็ก) และเป็นท่าอากาศยานหลักของมาเลเซียแอร์ไลน์, มาเลเซียแอร์ไลน์คาร์โก และแอร์เอเชีย ได้รับรางวัลท่าอากาศยานที่ดีที่สุด จาก (AETRA awards) ปี 2005 และ (ACI-ASQ awards) ปี 2006.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา) (U-Tapao International Airport) หรือมักเรียกกันว่า สนามบินอู่ตะเภา เป็นสนามบินตั้งอยู่ในพื้นที่ ตำบลพลา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงเทพมหานคร อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 13 เมตร ห่างจากจังหวัดระยองประมาณ 30 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 190 กิโลเมตร ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ กองการบินทหารเรือ, กองเรือยุทธการ และ กองการสนามบินอู่ต.

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา) · ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ

ทางอากาศ หอควบคุมการบิน ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่เกาะที่มนุษย์สร้างขึ้นในอ่าวโอซะกะ นอกชายฝั่งเมืองเซ็นนังและเมืองอิซุมิซะโนะ จังหวัดโอซะกะ ญี่ปุ่น ออกแบบโดยสถาปนิก Renzo Piano เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2537 โดย ในระหว่างปีงบประมาณ 2015 (พ.ศ. 2558) ท่าอากาศยานแห่งนี้มีเที่ยวบินเข้าและออก 163,506 เที่ยว ในจำนวนนี้มี 72,251 เที่ยวเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ และอีก 40,328 เที่ยวเป็นเที่ยวบินภายในประเทศ มีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งหมด 23,214,756 คน โดยเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 16,250,323 คน และผู้โดยสารภายในประเทศ 5,289,063 คน.

ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซและท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง

ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง (จีนตัวย่อ: 上海浦东国际机场, จีน: 上海浦東國際機場, พินอิน: Shànghǎi Pǔdōng Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของผู่ตง ในเขตเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประตูหลักสู่ประเทศจีน รองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศกว่า 17 ล้านคน ในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงและท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง

อาคารเทียบเครื่องบิน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นสนามบินระหว่างประเทศสนามบินหลักของกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากใจกลางเมืองประมาณ ในเขตฉาวหยาง และบางส่วนของ เขตซุ่นอี้ บริหารงานโดย บริษัทท่าอากาศยานปักกิ่งแคปิตอล ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ รหัสสนามบิน IATA ของปักกิ่งคือ PEK มาจากการถอดความชื่อของปักกิ่งเป็นอักษรโรมันแบบเดิม (Peking) ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ไชน่า สายการบินแห่งชาติของประเทศจีน ซึ่งมีเที่ยวบินจากที่นี่มากกว่า 120 เส้นทาง (ไม่รวมเที่ยวบินส่งสินค้า) ทั้งนี้ยังมี ไห่หนานแอร์ไลน์ และ ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ที่ยึดสนามบินนี้เป็นสนามบินหลักอีกด้วย ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เพิ่มอาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งและท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง

ท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง (Lapangan Terbang Antarabangsa Pulau Pinang) เดิมคือ ท่าอากาศยานนานาชาติบายันเลอปัซ ตั้งอยู่ที่เมืองบายันเลอปัซ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย อยู่ห่างจากตัวเมืองจอร์จทาวน์ (เมืองหลวงของรัฐ) ไปทางใต้ประมาณ 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) รองรับการจราจรทางอากาศของปีนังเพื่อเชื่อมต่อกับเมืองสำคัญต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของไฟร์ฟลาย ซึ่งเป็นสายการบินลูกของ Malaysia Airlines ทางวิ่งของท่าอากาศยานนานาชาติปีนังอยู่ในทิศทาง 04/22 ผิวราดด้วยแอสฟัลต์ มีความยาว 3,352 เมตร กว้าง 45.5 เมตร ภายในอาคารมีช่องตรวจบัตรโดยสาร 64 ช่อง ประตูขึ้นเครื่อง 11 ประตู เป็นแบบประชิดอาคารมีสะพานเทียบ 8 ประตู มีสายพานรับกระเป๋า 3 สายพาน และลานจอดรองรับรถยนต์ได้ 808 คัน ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังเป็นท่าอากศยานขนาดกลาง บริหารงานโดย Malaysia Airports Holdings Berhad (MAHB) ซึ่งเป็นบริษัทของกระทรวงคมนาคม มีเที่ยวบินเชื่อมโยงไปยังสนามบินหลักๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื่องด้วยขนาดที่กระทัดรัดของสนามบิน ทำให้ผู้โดยสารได้รับการบริการที่รวดเร็ว และมีสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานอย่างครบครัน โดยมีเวลาขั้นต่ำในการต่อเครื่องบิน (minimum connection times) จากในประเทศไปต่างประเทศ (และในทางกลับกัน) 40 นาที และจากในประเทศไปในประเทศ 30 นาที ในปี 2007 ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังมีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งสิ้นกว่า 3.1 ล้านคน จำนวนเครื่องบินขึ้นลงทั้งหมด 39,265 ลำ รองรับสินค้าทางอากาศทั้งสิ้น 208,582 ตัน.

ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เป็นสนามบินนานาชาติ ตั้งอยู่ที่เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัทท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งแปรสภาพมาจาก องค์การบริหารงานท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นสนามบินหลักที่ให้บริการผู้โดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าและออกจากประเทศญี่ปุ่น และเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกา เป็นสนามบินที่รองรับเที่ยวบินสำหรับผู้โดยสารมากอันดับ 2 ของญี่ปุ่น (รองจากสนามบินฮะเนะดะ) เป็นสนามบินที่รองรับการขนส่งทางอากาศเป็นอันดับ 1 ของญี่ปุ่นและอันดับ 3 ของโลก ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ สายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ และสายการบินนอร์ธเวสต์แอร์ไลน์ และยังเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ อีกด้วย ท่าอากาศยานานาชาตินาริตะ เคยใช้ชื่อว่า New Tokyo International Airport (新東京国際空港 Shin-Tōkyō Kokusai Kūkō) จนกระทั่งปี..

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะและท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า · ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน

ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน (จีนตัวเต็ม: 台灣桃園國際機場 หรือ 臺灣桃園國際機場, ไต้หวันพินอิน: Táiwan Táoyuán Gúojì Jicháng, พินอิน: Táiwān Táoyuán Gúojì Jīcháng) เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติเจียงไคเช็ก (จีนตัวเต็ม: 中正國際機場, ไต้หวันพินอิน: Jhongjhèng Gúojì Jicháng, พินอิน: Zhōngzhèng Gúojì Jīcháng) ตั้งอยู่ที่เมืองเถา-ยฺเหวียน ในเขตไต้หวัน ประเทศสาธารณรัฐจีน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐจีน และเป็นท่าอากาศยานหลักของไชน่าแอร์ไลน์ และอีวีเอแอร์ โดยอาคาร 1 รองรับผู้โดยสารได้ 15ล้านคน อาคาร 2 รองรับผู้โดยสารได้ 17ล้านคน รวมกันได้ 32ล้านคนต่อปี.

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน · ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียนและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

มุมสูงของท่าอากาศยานเชียงใหม่ มองจากวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร ภายในอาคารท่าอากาศยานเชียงใหม่ Boeing 737-800 ของสายการบินนกแอร์ ที่สนามบินเชียงใหม่ Airbus A319 ของสายการบินบางกอกแอร์เวย์ ที่สนามบินเชียงใหม่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ หรือสนามบินเชียงใหม่ (Chiang Mai International Airport) ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ 4 กิโลเมตร ในตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติ 1 ในจำนวนทั้งหมด 6 แห่ง ที่ดำเนินงานโดยบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เป็นศูนย์กลางทางการบินของภาคเหนือ โดยมีเที่ยวบินเข้าออกหนาแน่นเป็นลำดับสี่ รองจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยานภูเก็ต.

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและประเทศจีน · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

แอร์มาเก๊า

แอร์มาเก๊า เป็นสายการบินประจำเขตปกครองพิเศษมาเก๊า สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่มาเก๊า ให้บริการเที่ยวบินประจำประหว่างมาเก๊ากับจีนแผ่นดินใหญ่ และจุดหมายระหว่างประเทศอื่นๆ จากท่าอากาศยานนานาชาติมาเก.

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและแอร์มาเก๊า · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและแอร์มาเก๊า · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ไชนา

แอร์ไชนา (อังกฤษ: Air China, จีนตัวย่อ: 中国国际航空公司, พินอิน: Zhōngguó Guójì Hángkōng Gōngsī) เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นรัฐวิสาหกิจในรัฐบาล และเป็นสายการบินใหญ่อันดับสองของจีนรองจากสายการบินไชนาเซาต์เทิร์นแอร์ไลน์ มีขนาดฝูงบินเป็นอันดับที่ 18 ของโลก มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง, ท่าอากาศยานนานาชาติเฉิงตูซวงหลิว, และท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ.

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและแอร์ไชนา · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและแอร์ไชนา · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์

China Eastern Airlines and Shanghai Airlines headquarters ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินที่ให้บริการทั้งเส้นทางภายในประเทศ และเส้นทางระหว่างประเทศ โดยมีฐานการบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง และท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่หงเฉียว และยังมีฐานการบินที่ท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้า และท่าอากาศยานนานาชาติซีอานเสียนหยาง ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของจีน เมื่อนับจากจำนวนผู้โดยสาร และเมื่อวันที่ 16 เมษายน..2010 ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ได้ประกาศตัวเข้าเป็นสามชิกของกลุ่มสกายทีม.

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยแอร์เอเชีย

ทยแอร์เอเชีย (IATA: FD, ICAO: AIQ, Callsign: THAI ASIA) ด้วยสโลแกนหลัก ใคร ใคร...ก็บินได้ (Now Everyone Can Fly) เป็นแรงจูงใจและกระตุ้นให้ผู้โดยสารที่ไม่เคยเดินทางโดยเครื่องบิน ได้เดินทางด้วยราคาที่เหมาะสม ซึ่งรูปแบบการนำเสนอคือ การเดินทางแบบเรียบง่าย การเดินทางในระยะสั้นตั๋วค่าโดยสารไม่ถูกบวกเพิ่มด้วยอาหาร และเครื่องดื่ม สายการบินไทยแอร์เอเชีย มีความโดดเด่น เนื่องจากเป็นสายการบินที่มีราคาเหมาะสม จากต้นทุนได้ถูกควบคุมในทุกวิธีการ อีกทั้งวัฒนธรรมทางองค์กรที่มีการบริหารงานอย่างมืออาชีพ ทำให้สายการบินไทยแอร์เอเชีย เติบโตได้อย่างรวดเร็วมากภายในระยะเวลาไม่กี่ปี สายการบินไทยแอร์เอเชีย มีความแปลกใหม่ และเน้นการใช้เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก โดยลดต้นทุนจากการใช้งานบุคลากรให้ใช้งานผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งมีความสะดวกรวดเร็วมากกว่า พร้อมทั้งจ่ายด้วยบัตรเครดิตได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย โดยการจองที่นั่งผ่านทางระบบออนไลน์ ไทยแอร์เอเชียยังเป็นสายการบินผู้ให้การสนับสนุนคณะกรรมการผู้ตัดสินฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก 2012 อย่างเป็นทางการ และ ทีมฟุตบอลต่างๆ ที่สังกัดสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยอีกด้ว.

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและไทยแอร์เอเชีย · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและไทยแอร์เอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า มี 32 ความสัมพันธ์ขณะที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มี 367 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 24, ดัชนี Jaccard คือ 6.02% = 24 / (32 + 367)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊าและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »