โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ vs. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (Lapangan Terbang Antarabangsa Kuala Lumpur) ตั้งอยู่ที่เขตเซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 กิโลเมตร เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เพื่อใช้เป็นท่าอากาศยานหลัก แทน ท่าอากาศยานสุลต่านอับดุล อาซิส ซาห์ (ซูบัง) ซึ่งตั้งห่างอยู่ทางทิศเหนือ (ปัจจุบันเปิดทำการในสายภายในประเทศ และเครื่องบินขนาดเล็ก) และเป็นท่าอากาศยานหลักของมาเลเซียแอร์ไลน์, มาเลเซียแอร์ไลน์คาร์โก และแอร์เอเชีย ได้รับรางวัลท่าอากาศยานที่ดีที่สุด จาก (AETRA awards) ปี 2005 และ (ACI-ASQ awards) ปี 2006. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มี 31 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บริติชแอร์เวย์บางกอกแอร์เวย์การบินไทยการูดาอินโดนีเซียกาตาร์แอร์เวย์รอยัลจอร์แดเนียนลุฟต์ฮันซาสายการบินเอทิฮัดสิงคโปร์แอร์ไลน์ออล นิปปอน แอร์เวย์อุซเบกิสถานแอร์เวย์อียิปต์แอร์อีวีเอแอร์คอนกรีตคาเธ่ย์แปซิฟิคแอร์ฟรานซ์แอร์อัสตานาแอร์ไชนาโคเรียนแอร์ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ไชนาแอร์ไลน์ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ไทยแอร์เอเชียเมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนลเวียดนามแอร์ไลน์เอมิเรตส์แอร์ไลน์เจแปนแอร์ไลน์เคแอลเอ็มเตอร์กิชแอร์ไลน์เติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์...เนปาลแอร์ไลน์ ขยายดัชนี (1 มากกว่า) »

บริติชแอร์เวย์

Waterside บริติช แอร์เวย์ (อังกฤษ: British Airways) เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของสหราชอาณาจักร และเป็นลำดับที่สามของทวีปยุโรป (ตามหลัง แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม และ ลุฟต์ฮันซา) และมีเที่ยวบินจากยุโรปข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกมากกว่าสายการบินอื่นๆ ท่าอากาศยานหลักของบริติชแอร์เวย์ คือ ลอนดอนฮีทโธรว์ และ ลอนดอนแกตว.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และบริติชแอร์เวย์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและบริติชแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกแอร์เวย์

การบินบางกอกแอร์เวย์ เป็นสายการบินเชิงพาณิชย์ ดำเนินงานโดย บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด ซึ่งเริ่มดำเนินงานกิจการด้านการบินเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2511 ในแผนกการบินสหกลแอร์ บริษัท กรุงเทพสหกล จำกัด ซึ่งในระยะแรกได้ดำเนินกิจการทำการบินบริการให้แก่หน่วยงานของรัฐบาล (รบ.) รัฐวิสาหกิจ (รสก.) และธุรกิจเอกชนต่างๆ ทั่วไป ในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และบางกอกแอร์เวย์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและบางกอกแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

การบินไทย

ริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (Thai Airways International Public Company Limited; ชื่อย่อ: ไทย, THAI) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดำเนินธุรกิจการบินพาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 จากเว็บไซต์การบินไทย โดยปฏิบัติการบินจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหลัก ทั้งนี้ การบินไทยยังได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรการบิน สตาร์อัลไลแอนซ์ เคยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสายการบินนกแอร์ และเปิดตัวสายการบินลูก ไทยสมายล์ อีกด้วย ปัจจุบัน(มิถุนายน พ.ศ. 2561) การบินไทยบิน 64 สนามบินรวมต่างประเทศและในประเทศ แบ่งเป็นต่างประเทศ 60 สนามบิน ในประเทศไทย 4 สนามบินไม่รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้งหมด 3 ทวีป 32 ประเทศทั่วโลกไม่รวมประเทศไทย จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้วยฝูงบินกว่า 84 ลำ การบินไทยเป็นสายการบินลำดับต้นในเอเชีย ที่ทำการบินในเส้นทางกรุงเทพ ลอนดอน (ท่าอากาศยานฮีทโธรว์) นอกจากนี้ การบินไทยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจากองค์การอนามัยโลกว่าด้วยสุขอนามัยบนเครื่องบินอีกด้ว.

การบินไทยและท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ · การบินไทยและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

การูดาอินโดนีเซีย

การูดาอินโดนีเซีย (Garuda Indonesia) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งชื่อตามคำในภาษาอังกฤษที่แปลว่า "ครุฑ" ซึ่งเป็นตราแผ่นดินของอินโดนีเซีย สายการบินมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ภายในท่าอากาศยานนานาชาติซูการ์โน-ฮัตตาในจังหวัดบันเติน ใกล้กับกรุงจาการ์ตา ทั้งนี้ ในปี..

การูดาอินโดนีเซียและท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ · การูดาอินโดนีเซียและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

กาตาร์แอร์เวย์

กาตาร์แอร์เวย์ (القطرية) เป็นสายการบินที่มีฐานอยู่ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ ให้บริการบินสู่จุดหมายมากกว่า100แห่งทั่วโลก จัดเป็นหนึ่งในสายการบินที่เติบโตเร็วที่สุด และเป็น 1 ใน 5 สายการบินที่ได้รับการจัดอันดับจาก Skytrax ให้อยู่ในอันดับ 5 ดาวในแต่ละปีมีผู้โดยสารใช้บริการถึง 12 ล้านคน.

กาตาร์แอร์เวย์และท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ · กาตาร์แอร์เวย์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

รอยัลจอร์แดเนียน

รอยัล จอร์แดเนียน (อาหรับ: الملكية الأردنية) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศจอร์แดน มีศูนย์กลางการบินอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติสมเด็จพระราชินีอาเลีย และรอยัล จอร์แดเนียนยังเป็นสมาชิกชองอาหรับแอร์ แคริเออร์ ออร์แกไนเซชั่น และพันธมิตรสายการบินวันเวิล.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และรอยัลจอร์แดเนียน · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและรอยัลจอร์แดเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ลุฟต์ฮันซา

อาคารสำนักงานลุฟท์ฮันซา ลุฟท์ฮันซา (Lufthansa) เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนี ใหญ่เป็นอันดับสองในยุโรปรองจากกลุ่มแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม และใหญ่เป็นอันดับห้าของโลกในจำนวนผู้โดยสาร ก่อตั้งในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และลุฟต์ฮันซา · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและลุฟต์ฮันซา · ดูเพิ่มเติม »

สายการบินเอทิฮัด

Etihad Thai logo สายการบินเอทิฮัด (الإتحاد; Etihad Airways) เป็นสายการบินแห่งชาติของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ก่อตั้งในเดือนกรกฎาคม..

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และสายการบินเอทิฮัด · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและสายการบินเอทิฮัด · ดูเพิ่มเติม »

สิงคโปร์แอร์ไลน์

อาคารสิงคโปร์แอร์ไลน์ สิงคโปร์แอร์ไลน์ (abbreviated 新航) เป็นบริษัทสายการบินในสิงคโปร์ มีท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีเป็นท่าอากาศยานหลัก จัดว่ามีความแข็งแกร่งในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และ"เส้นทางจิงโจ้" (เส้นทางบินระหว่างประเทศในทวีปออสเตรเลียกับสหราชอาณาจักรโดยผ่านซีกโลกตะวันออก) นอกจากนี้ยังมีเที่ยวบินข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งรวมถึงเที่ยวบินตรงเชิงพาณิชย์ที่ใช้เวลาบินนานที่สุดในโลกสองเส้นทาง คือ จากสิงคโปร์ไปนูอาร์ก และลอสแอนเจลิส ด้วยเครื่องบินแอร์บัส เอ 340-500 สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นสายบินแรกที่สั่งซื้อเครื่องบินแอร์บัส เอ 380 และนอกจากกิจการสายการบินแล้ว ยังขยายกิจการไปยังธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสายการบิน เช่น การจัดการและวิศวกรรมอากาศยาน มีสายการบินซิลค์แอร์เป็นบริษัทสาขาที่สิงคโปร์แอร์ไลน์เป็นเจ้าของทั้งหมด ให้บริการเที่ยวบินภายในภูมิภาคไปยังเมืองที่มีความสำคัญระดับรองและมีผู้โดยสารน้อยกว่า และยังมีสิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โกเป็นบริษัทสาขาที่ดำเนินการบินฝูงบินขนส่งสินค้าและจัดการขนส่งและจัดเก็บสัมภาระบนเครื่องบินโดยสาร สิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้นในสายการบินเวอร์จินแอตแลนติกอยู่ 49% และลงทุนในสายการบินไทเกอร์แอร์ไลน์เป็นส่วนปันผล 49% เพื่อรับมือการแข่งขันจากสายการบินต้นทุนต่ำ สิงคโปร์แอร์ไลน์จัดว่าเป็นสายการบินที่มีจำนวนผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 11 ในเอเชีย และมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมากเป็นอันดับ 6 ของโลก สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้รับการจัดอันดับจากนิตยสารฟอร์จูนให้อยู่ในอันดับที่ 27 ในหมวดหมู่บริษัทที่เป็นที่ยกย่องชมเชยมากที่สุดในโลกประจำ พ.ศ. 2553 และได้สร้างตราบริษัทที่แข็งแกร่งในฐานะผู้สร้างปรากฏการณ์ในอุตสาหกรรมการบิน โดยเฉพาะความเป็นเลิศในด้านนวัตกรรม ความปลอดภัย และบริการ ที่เชื่อมโยงเข้ากับความได้เปรียบทางธุรกิจอย่างมั่นคง นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลมากมายและเป็นผู้นำทางอุตสาหกรรมในด้านการจัดซื้ออากาศยาน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ Airport House ใกล้กับท่าอากาศยานชางงีในย่านชางงีในสิงคโปร.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และสิงคโปร์แอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและสิงคโปร์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ออล นิปปอน แอร์เวย์

ออลนิปปอนแอร์เวย์ (All Nippon Airways) หรือ บริษัท เดินอากาศเซ็งนิปปง มหาชนจำกัด หรือย่อว่า ANA เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่อยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และมีท่าอากาศยานหลักนานาชาติคือ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ และ ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ (โอซาก้าใต้) และมีท่าอากาศยานหลักภายในประเทศคือ ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว ท่าอากาศยานนานาชาติโอซะกะ ท่าอากาศยานชูบุเซ็นแทรร์ (นาโกย่า) และ ท่าอากาศยานชินชิโตเสะ (ซัปโปโร) ANA จัดตั้งขึ้นโดยการควบรวมของ แอร์นิปปอน (สายการบินภูมิภาค) และ แอร์เจแปน (ผู้ให้บริการเช่าเหมาลำ) และต่อมาในปี 2547 ANA ได้จัดตั้งสายการบินต้นทุนต่ำในนามของ แอร์เน็กซ์ (Air Next) เพื่อทำการบินจากท่าอากาศยานฟุกุโอกะ ซึ่งเริ่มทำการบินครั้งแรกในปี 2548 และในปีเดียวกันนั้น (2547) ANA ได้เป็นผู้ถืหุ้นหลักในสายการบินนะกะนิคอน แอร์ไลน์ เซอร์วิส (NAL) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ที่เมืองนาโกย่า และในปี 2548 ได้เปลี่ยนชื่อนะกะนิคอนฯ เป็น แอร์ เซ็นทรัล พร้อมทั้งย้ายที่ทำการไปยังท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และออล นิปปอน แอร์เวย์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและออล นิปปอน แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

อุซเบกิสถานแอร์เวย์

อุซเบกิสถานแอร์เวย์ (O‛zbekiston Havo Yo‛llari, Ўзбекистон Ҳаво Йўллари; Узбекские Авиалинии) เป็นสายการบินแห่งชาติของอุซเบกิสถาน มีฐานหลักที่ทาชเคนต์ สายการบินมีท่าอากาศยานหลักคือที่ ท่าอากาศยานนานาชาติทาชเคนต.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และอุซเบกิสถานแอร์เวย์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและอุซเบกิสถานแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์แอร์

อียิปต์แอร์ (อาหรับ: مصر للطيران) เป็นสายการบินแห่งชาติ และเป็นรัฐวิสาหกิจของประเทศอียิปต์ ให้บริการในเส้นทางมากกว่า 75 จุดหมายปลายทาง โดยให้บริการหลักจากท่าอากาศยานนานาชาติไคโร ในกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง, ยุโรป, เอเชีย และอเมริกา อียิปต์แอร์ ยังเป็นสมาชิกของอาหรับแอร์ แคริเออร์ ออร์แกไนเซชั่น (الإتحاد العربي للنقل الجوي) และกำลังเจรจาเข้าร่วมเป็นพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ โดยมีลุฟต์ฮันซาให้การสนับบสนุน นอกจากนี้อียิปต์แอร์ยังเป็นสายการบินขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา เป็นรองจากแอฟริกันแอร์เว.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และอียิปต์แอร์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและอียิปต์แอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อีวีเอแอร์

ำนักงานใหญ่อีวีเอแอร์ แอร์บัส เอ 330-200ในลวดลายการ์ตูนคิตตี้ของอีวีเอแอร์ '''ตราสัญลักษณ์สายการบิน อีวีเอแอร์''' อีวีเอแอร์ (จีน: 長榮航空 Chángróng Hángkōng อังกฤษ: EVA Air อ่าน "อี-วี-เอ-แอร์") เป็นสายการบินสัญชาติไต้หวัน บริหารงานโดยเอเวอร์กรีนกรุ๊ป ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจขนส่งขนาดใหญ่ของไต้หวัน ให้บริการเที่ยวบินโดยสาร และเที่ยวบินขนส่งสินค้าในชื่อ อีวีเอแอร์ คาร์โก จากท่าอากาศยานหลักที่ไต้หวันเถาหยวน นอกจากนี้ยังมีสายการบินลูก ยูนิแอร์ ให้บริการเส้นทางท้องถิ่น และมีสายการบินอย่างไชน่าแอร์ไลน์เป็นคู่แข่งสำคัญ.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และอีวีเอแอร์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและอีวีเอแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนกรีต

การเทคอนกรีต สำหรับหล่อพื้น คอนกรีต (คอน-กรีด) (Concrete ในภาษาอังกฤษอ่านว่า คอนครีท) เป็นวัสดุผสมที่นิยมใช้ในงานก่อสร้างประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ ปูนซีเมนต์ วัสดุผสม (เช่น หิน ทราย หรือ กรวด) และ น้ำ โดยอาจจะมีสารเคมีเติมเพิ่มเข้าไปสำหรับคุณสมบัติด้านอื่น เมื่อผสมเสร็จคอนกรีตจะแข็งตัวอย่างช้าๆ ซึ่งน้ำและซีเมนต์จะทำปฏิกิริยาทางเคมีกันในลักษณะที่เรียกว่าการไฮเดรชัน โดยซีเมนต์จะเริ่มจับตัวกับวัสดุอื่นและแข็งตัว ซึ่งในสถานะนี้จะนิยมเรียกกันว่าคอนกรีต ความแข็งแรงของคอนกรีตจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆหลังจากที่ผสม และยังแข็งแรงขึ้นภายหลังจากการแข็งตัว โดยประมาณหลังจากแข็งตัวแล้ว 28 วัน ความแข็งแรงจะเริ่มคงที่ คอนกรีตมีใช้กันในงานก่อสร้างหลายชนิด ซึ่งรวมถึง อาคาร ถนน เขื่อน สะพาน อนุสาวรีย์ และงานก่อสร้างต่างๆ ซึ่งมีเห็นได้ทั่วไป คุณสมบัติหลักของคอนกรีตคือการรับแรงอัดสูง ในขณะที่สามารถรับแรงดึงได้ต่ำ (ประมาณ 10% ของแรงอัด) โดยเมื่อต้องการให้คอนกรีตสามารถรับแรงดึง จะมีการเสริมวัสดุอื่นเพิ่มเข้าไปในคอนกรีตโดยจะเรียกว่า คอนกรีตเสริมแรง หรือคอนกรีตเสริมเหล็กที่เรียกกัน (โดยเสริมแรงด้วยเหล็ก) วัสดุเหล่านี้จะช่วยรับแรงดึงภายในคอนกรีต ซึ่งงานโครงสร้างอาคารส่วนใหญ่นิยมใช้คอนกรีตเสริมแรงแทนที่คอนกรีตเปลือย นอกจากนี้ในงานก่อสร้างยังมีการใช้วิธีการที่เรียกว่า คอนกรีตอัดแรง โดยทำการใส่แรงเข้าไปในคอนกรีตหล่อสำเร็จที่หล่อมาจากโรงงาน โดยเมื่อนำไปใช้งาน แรงที่ใส่เข้าไปในคอนกรีตจะหักล้างกับน้ำหนักของตัวคอนกรีตเองและน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นมา ซึ่งวิธีการนี้จะทำให้คอนกรีตสามารถรับน้ำหนักได้เพิ่มมากขึ้น โดยงานสะพานและทางยกระดับ นิยมใช้คอนกรีตอัดแรง มนุษย์เริ่มใช้คอนกรีตในการก่อสร้างตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ ในอดีต ชาวกรีกและชาวโรมันใช้คอนกรีตในการก่อสร้างป้อมปราการทางการทหารและสถานที่สำคัญต่างๆมากม.

คอนกรีตและท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ · คอนกรีตและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

คาเธ่ย์แปซิฟิค

Cathay City คาเธ่ย์แปซิฟิค (Cathay Pacific) (IATA:CX, ICAO:CPA, Callsign:Cathay) คือสายการบินประจำชาติฮ่องกง ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1946 เป็นสมาชิกของ วันเวิลด์ โดยคาเธ่ย์ แปซิฟิค เป็น 1 ใน 6 สายการบินที่บริการลูกค้าได้ในระดับ 5 ดาวจากการสำรวจของ สกายแทร็กซ.

คาเธ่ย์แปซิฟิคและท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ · คาเธ่ย์แปซิฟิคและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ฟรานซ์

แอร์ฟรานซ์ (Air France) (Compagnie Nationale Air France) เป็นสายการบินหนึ่งของแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม (Air France-KLM) แอร์ฟรานซ์เป็นสายการบินประจำชาติของฝรั่งเศส ปัจจุบันได้เข้าร่วมกิจการกับสายการบินเคแอลเอ็ม (KLM) สายการบินประจำชาติของเนเธอร์แลนด์ โดยใช้ชื่อว่า "แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม" และแอร์ฟรานซ์เป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งของเครือข่ายพันธมิตรสายการบินสกายทีม.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และแอร์ฟรานซ์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและแอร์ฟรานซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์อัสตานา

แอร์อัสตานา (Эйр Астана) เป็นสายการบินแห่งชาติของคาซัคสถาน มีที่ตั้งที่ อัลมาตี คาซัคสถาน มีฐานการบินหลักที่ ท่าอากาศยานนานาชาติอัสมาตี และอีกที่คือท่าอากาศยานนานาชาติอัสตาน.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และแอร์อัสตานา · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและแอร์อัสตานา · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ไชนา

แอร์ไชนา (อังกฤษ: Air China, จีนตัวย่อ: 中国国际航空公司, พินอิน: Zhōngguó Guójì Hángkōng Gōngsī) เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นรัฐวิสาหกิจในรัฐบาล และเป็นสายการบินใหญ่อันดับสองของจีนรองจากสายการบินไชนาเซาต์เทิร์นแอร์ไลน์ มีขนาดฝูงบินเป็นอันดับที่ 18 ของโลก มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง, ท่าอากาศยานนานาชาติเฉิงตูซวงหลิว, และท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และแอร์ไชนา · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและแอร์ไชนา · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียนแอร์

รียนแอร์ (ฮันกึล: 대한항공, ฮันจา: 大韓航空) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเกาหลีใต้ และเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุด มีสำนักงานใหญ่ที่โซล มีฐานบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอนและท่าอากาศยานกิมโป นอกจากนี้ยังมีท่าอากาศยานรองอีก คือ ท่าอากาศยานนานาชาติเชจู และท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ เมืองปูซาน เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสกายทีม แต่เดิมสายการบิน โคเรียนแอร์ นั้นก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลเกาหลีใต้ในปี 1962 ต่อมาในเดือนมีนาคม ปี1969 กลุ่มบริษัท ฮันจินอินดัสตรีกรุ๊ป (Hanjin Transport Group) ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มแชโบล ที่ก่อตั้งโดยนาย โช ชุง-ฮุน บิดาของนาย โช ยัง-โฮ เข้าถือหุ้นใหญ่และเป็นผู้บริหารสายการบินโคเรียนแอร์ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นม.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และโคเรียนแอร์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและโคเรียนแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์

China Eastern Airlines and Shanghai Airlines headquarters ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินที่ให้บริการทั้งเส้นทางภายในประเทศ และเส้นทางระหว่างประเทศ โดยมีฐานการบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง และท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่หงเฉียว และยังมีฐานการบินที่ท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้า และท่าอากาศยานนานาชาติซีอานเสียนหยาง ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของจีน เมื่อนับจากจำนวนผู้โดยสาร และเมื่อวันที่ 16 เมษายน..2010 ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ได้ประกาศตัวเข้าเป็นสามชิกของกลุ่มสกายทีม.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาแอร์ไลน์

CAL Park, China Airlines headquarters The former China Airlines headquarters in Taipei ไชน่าแอร์ไลน์ เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถาหยวน และมีสำนักงานใหญ่ที่เขตต้าหยวน เทศมณฑลเถาหยวน ให้บริการจุดหมายปลายทางทั้งในทวีปเอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ และโอเชียเนีย โดยเฉพาะการเปิดเส้นทางระหว่างไต้หวันกับจีนแผ่นดินใหญ่ซึ่งเริ่มให้บริการเมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 จุดหมายที่สำคัญคือเมืองเซี่ยงไฮ้ กวางโจว ปักกิ่ง และฮ่องกง คู่แข่งที่สำคัญของไชนาแอร์ไลน์ คือสายการบินอีวาแอร์ซึ่งเป็นสายการบินเอกชนของไต้หวัน ในเครื่อเอเวอร์กรีน.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และไชนาแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและไชนาแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์

China Southern head office ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินหนึ่งในสามสายการบินหลักสัญชาติจีน สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เขตไป่หยวน เมืองกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลกในจำนวนผู้โดยสาร เป็นสายการบินที่มีขนาดฝูงบินใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย, และอันดับ 4 ของโลกในจำนวนผู้โดยสารเดินทางภายในประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป้หยวน และท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง กับ 121 จุดหมายปลายทาง ปัจจุบันเข้าร่วมกลุ่มพันธมิตรทางการบินสกายทีม ในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยแอร์เอเชีย

ทยแอร์เอเชีย (IATA: FD, ICAO: AIQ, Callsign: THAI ASIA) ด้วยสโลแกนหลัก ใคร ใคร...ก็บินได้ (Now Everyone Can Fly) เป็นแรงจูงใจและกระตุ้นให้ผู้โดยสารที่ไม่เคยเดินทางโดยเครื่องบิน ได้เดินทางด้วยราคาที่เหมาะสม ซึ่งรูปแบบการนำเสนอคือ การเดินทางแบบเรียบง่าย การเดินทางในระยะสั้นตั๋วค่าโดยสารไม่ถูกบวกเพิ่มด้วยอาหาร และเครื่องดื่ม สายการบินไทยแอร์เอเชีย มีความโดดเด่น เนื่องจากเป็นสายการบินที่มีราคาเหมาะสม จากต้นทุนได้ถูกควบคุมในทุกวิธีการ อีกทั้งวัฒนธรรมทางองค์กรที่มีการบริหารงานอย่างมืออาชีพ ทำให้สายการบินไทยแอร์เอเชีย เติบโตได้อย่างรวดเร็วมากภายในระยะเวลาไม่กี่ปี สายการบินไทยแอร์เอเชีย มีความแปลกใหม่ และเน้นการใช้เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก โดยลดต้นทุนจากการใช้งานบุคลากรให้ใช้งานผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งมีความสะดวกรวดเร็วมากกว่า พร้อมทั้งจ่ายด้วยบัตรเครดิตได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย โดยการจองที่นั่งผ่านทางระบบออนไลน์ ไทยแอร์เอเชียยังเป็นสายการบินผู้ให้การสนับสนุนคณะกรรมการผู้ตัดสินฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก 2012 อย่างเป็นทางการ และ ทีมฟุตบอลต่างๆ ที่สังกัดสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยอีกด้ว.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และไทยแอร์เอเชีย · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและไทยแอร์เอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนล

Boeing 737-300 ที่ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี (ถ่ายในปี ค.ศ. 2002) เครื่องบิน Airbus A320 จอดที่ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง เครื่องบิน Airbus A320 ในลายปัจจุบัน บริษัท เมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนล จำกัด (အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာ မြန်မာ့လေကြောင်း) เป็นสายการบินเอกชนซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ย่างกุ้ง ประเทศพม่า ให้บริการสายการบินไปยังจุดหมายปลายทางต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีฐานการบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง นอกจากนี้ยังเคยเป็นผู้สนับสนุนหลักของกีฬาซีเกมส์ 2013 อีกด้ว.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และเมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนล · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและเมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

เวียดนามแอร์ไลน์

แอร์บัส เอ 321 ของเวียดนาม แอร์ไลน์ เวียดนาม แอร์ไลน์ (เวียดนาม: Tổng công ty Hàng không Quốc gia Việt Nam) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเวียดนาม เดิมเป็นหน่วยงานของรัฐ ก่อนที่จะแปรรูปกิจการมาเป็นเวียดนาม แอร์ไลน์ คอร์ปอเรชั่น ในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และเวียดนามแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและเวียดนามแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตส์แอร์ไลน์

แอร์บัส เอ 380 F-WWDD โดยใช้ลายเครื่องของเอมิเรตส์ ในงานดูไบแอร์โชว์ เมื่อพ.ศ. 2548 เอมิเรตส์แอร์ไลน์ (อาหรับ: طيران الإمارات) เป็นสายการบินของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ให้บริการไปยัง 87 จุดหมายปลายทางใน 59 ประเทศทั่วโลก และยังให้บริการขนส่งสินค้าภายใต้ชื่อเอมิเรตส์ สกายคาร์โก โดยให้บริการหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติดู.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และเอมิเรตส์แอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและเอมิเรตส์แอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจแปนแอร์ไลน์

แปนแอร์ไลน์ (Japan Airlines) หรือ บริษัท สายการบินญี่ปุ่น มหาชนจำกัด หรือ เจเอแอล (JAL) เป็นสายการบินที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศญี่ปุ่นรองจากสายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ มีศูนย์การบินอยู่สองแห่งในโตเกียวคือท่าอากาศยานนานาชาตินะริตะกับท่าอากาศยานนานาชาติฮะเนะดะ และอีกสองแห่งในจังหวัดโอซะกะคือท่าอากาศยานนานาชาติคันไซและท่าอากาศยานนานาชาติอิตะมิ ปัจจุบันมีเส้นทางบินระหว่างประเทศ 33 จุดหมายในทวีปเอเชีย, อเมริกา, ยุโรป และโอเชียเนีย และมีเส้นทางบินในประเทศ 59 จุดหมาย สายการบินก่อตั้งในรูปแบบบริษัทเอกชนเมื่อ 1 สิงหาคม..

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และเจแปนแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและเจแปนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เคแอลเอ็ม

KLM head office เคแอลเอ็ม โรยัลดัตช์ แอร์ไลน์ (Koninklijke Luchtvaart Maatschappij; หมายถึง Royal Aviation Company) เป็นบริษัทลูกของแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม โดยก่อนที่จะควบรวมกับแอร์ฟรานซ์นั้น เคแอลเอ็มเป็นสายการบินแห่งชาติของเนเธอร์แลนด์ มีท่าอากาศยานหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัม สคิปโฮล แอร์ฟรานซ์ได้เข้าซื้อกิจการเคแอลเอ็มเมื่อเดือนพฤษภาคม..

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และเคแอลเอ็ม · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและเคแอลเอ็ม · ดูเพิ่มเติม »

เตอร์กิชแอร์ไลน์

ำนักงานใหญ่ของเตอร์กิชแอร์ไลน์ เตอร์กิชแอร์ไลน์ (Türk Hava Yolları; Turkish Airlines) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศตุรกี ก่อตั้งในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1933 ให้บริการภายในประเทศ 50 เส้นทาง และในต่างประเทศ 242 เส้นทาง ทั้งในทวีปยุโรป เอเชีย แอฟริกา และอเมริกา ใน ค.ศ. 2017 มีผู้ใช้บริการกว่า ล้านคน สายการบินนี้ให้บริการทั้งชั้นธุรกิจและชั้นประหยัด ได้รับรางวัล "สายการบินที่ดีที่สุดในยุโรป" 6 ปีซ้อนจากสกายแทร็กซ์ และเป็นหนึ่งในสมาชิกของพันธมิตรในกลุ่มสตาร์ อัลไลแอนซ.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และเตอร์กิชแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและเตอร์กิชแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์

ติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์ (Türkmenhowaýollary) เป็นสายการบินแห่งชาติของเติร์กเมนิสถาน มีฐานหลักที่ อาชกาบัต สายการบินมีท่าอากาศยานหลักคือที่ ท่าอากาศยานนานาชาติอาชกาบัต.

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และเติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและเติร์กเมนิสถานแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เนปาลแอร์ไลน์

นปาลแอร์ไลน์ (เคยรู้จักกันในชื่อ รอยัลเนปาลแอร์ไลน์) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศเนปาล มีสำนักงานใหญ่ในกรุงกาฐมาณฑุ มีฐานการบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน ชานกรุงกาฐมาณฑุ ก่อตั้งในเดือนกรกฎาคม..

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และเนปาลแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและเนปาลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ มี 48 ความสัมพันธ์ขณะที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มี 367 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 31, ดัชนี Jaccard คือ 7.47% = 31 / (48 + 367)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »