โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน vs. ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน (Guangzhou Baiyun International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของนครกว่างโจว เมืองเอกของมณฑลกวางตุ้งในประเทศจีน จากสถิติในปี 2014 สนามบินแห่งนี้มีปริมาณผู้โดยสารมากสุดเป็นอันดับสองของจีนรองจากท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง และเป็นอันดับ 16 ของโลก สนามบินแห่งนี้ตั้งอยู่ในอำเภอไป๋-ยฺหวินและอำเภอฮฺวาตูของนครกว่างโจว เปิดทำการเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2004 เพื่อทดแทนสนามบินแห่งเก่าที่มีอายุกว่า 72 ปี ซึ่งในปัจจุบันได้ปิดใช้งานแล้ว สนามบินแห่งใหม่นี้สร้างขึ้นด้วยงบประมาณกว่า 1.98 หมื่นล้านหยวน มีที่ตั้งห่างจากตัวเมืองกว่างโจวไปทางเหนือราว 27 กิโลเมตร และมีขนาดใหญ่กว่าสนามบินเดิมถึงเกือบห้าเท่า คำว่า "ไป๋-ยฺหวิน" (白云) นั้นเป็นชื่อของภูเขาที่อยู่ใกล้เคียงสนามบินแห่งเก่า (ไป๋-ยฺหวินชาน) มีความหมายว่า "เมฆขาว" นอกจากนี้ สนามบินแห่งใหม่ยังอยู่ใกล้ตัวเมืองมากกว่าสนามบินแห่งเก่า สนามบินแห่งนี้มีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี แต่ในปัจจุบันจำนวนผู้โดยสารก็มากเกินศักยภาพ ขณะนี้มีโครงการขยายสนามบินซึ่งรวมถึงอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ขนาด 531,000 ตารางเมตรที่มีขนาดเท่ากับอาคารผู้โดยสารในปัจจุบันกำลังดำเนินการอยู่ คาดว่าจะก่อสร้างเสร็จภายในปี 2018 ซึ่งจะทำให้สนามบินมีศักยภาพในการรองรับผู้โดยสารได้ 80 ล้านคน และปริมาณสินค้า 25 ล้านตันต่อปี. ในท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ (อาคารระหว่างประเทศ) ท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ IATA: PUS, ICAO: RKPK) ตั้งอยู่ที่สุดฝั่งตะวันตกของเมือง ปูซาน, ประเทศเกาหลีใต้. เปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2519. ส่วนอาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ เปิดให้บริการในวันที่ 31 ตุลาคม, 2550. ท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ ถือเป็นท่าอากาศยานหลักของ แอร์ปูซาน. ทางวิ่งหมายเลข 18L/36R ใช้ในการทหารเท่านั้น, แต่ด้วยสภาพการจราจรทางอากาศที่หนาแน่นขึ้น, จึงมีแผนจะเปิดให้บริการสำหรับสายการบินพลเรือน. ในปี พ.ศ. 2558 มีผู้โดยสารใช้บริการทั้งหมด 12,382,150 คน. ในปี 2556, เมืองปูซานประกาศว่าเตรียมสิ้นสุดการให้บริการสำหรับสายการบินโดยสารที่ท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ เนื่องจากขนาดท่าอากาศยานที่เล็ก การจราจรทางอากาศที่ขับคั่งและเหตุผลด้านความปลอดภัย. โดยมีแผนจะย้ายท่าอากาศยานของปูซานไปยังเกาะกาด็อกโด, เกาะทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของปูซานและอยู่ทางด้านใต้ของ 'ท่าเรือปูซานนิวพอร์ท' ประมาณ 7 กม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ มี 27 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การบินลาวการบินไทยท่าอากาศยานชินชิโตเซะท่าอากาศยานฟุกุโอะกะท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ท่าอากาศยานนานาชาติวัตไตท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติคันไซท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะท่าอากาศยานนานาชาตินินอย อากีโนท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่ายท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ตดรากอนแอร์แอร์ไชนาโคเรียนแอร์ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ไชนาแอร์ไลน์ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์เวียดนามแอร์ไลน์เอเชียน่าแอร์ไลน์เจแปนแอร์ไลน์

การบินลาว

การบินลาว (ການບິນລາວ; Lao Airlines รัฐวิสาหกิจการบินลาว) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศลาว ให้บริการทั้งเที่ยวบินภายในประเทศและเที่ยวบินระหว่างประเทศ โดยใช้ท่าอากาศยานนานาชาติวัตไต นครหลวงเวียงจันทน์ เป็นฐานการบินหลัก และใช้ท่าอากาศยานนานาชาติหลวงพระบาง แขวงหลวงพระบาง เป็นฐานการบินรอง.

การบินลาวและท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · การบินลาวและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ · ดูเพิ่มเติม »

การบินไทย

ริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (Thai Airways International Public Company Limited; ชื่อย่อ: ไทย, THAI) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดำเนินธุรกิจการบินพาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 จากเว็บไซต์การบินไทย โดยปฏิบัติการบินจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหลัก ทั้งนี้ การบินไทยยังได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรการบิน สตาร์อัลไลแอนซ์ เคยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสายการบินนกแอร์ และเปิดตัวสายการบินลูก ไทยสมายล์ อีกด้วย ปัจจุบัน(มิถุนายน พ.ศ. 2561) การบินไทยบิน 64 สนามบินรวมต่างประเทศและในประเทศ แบ่งเป็นต่างประเทศ 60 สนามบิน ในประเทศไทย 4 สนามบินไม่รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้งหมด 3 ทวีป 32 ประเทศทั่วโลกไม่รวมประเทศไทย จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้วยฝูงบินกว่า 84 ลำ การบินไทยเป็นสายการบินลำดับต้นในเอเชีย ที่ทำการบินในเส้นทางกรุงเทพ ลอนดอน (ท่าอากาศยานฮีทโธรว์) นอกจากนี้ การบินไทยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจากองค์การอนามัยโลกว่าด้วยสุขอนามัยบนเครื่องบินอีกด้ว.

การบินไทยและท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · การบินไทยและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานชินชิโตเซะ

''ซุปเปอร์เลาจ์'' ภายในสนามบิน ท่าอากาศยานชินชิโตเซะ (New Chitose Airport), เป็นท่าอากาศยานนานาชาติของฮกไกโด เปิดบริการเมื่อปี..

ท่าอากาศยานชินชิโตเซะและท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · ท่าอากาศยานชินชิโตเซะและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ

อะแกรมของท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ ชื่อเดิมคือ ฐานทัพอากาศอิตะซุเกะ เป็นท่าอากาศยานในเมืองฟุกุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟฮะกะตะ 3 กิโลเมตรทางทิศตะวันออก จัดเป็นท่าอากาศยานระดับสองในญี่ปุ่น ปัจจุบันรองรับเที่ยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศ มีการใช้งานเต็มอัตราการรองรับของท่าอากาศยานและไม่สามารถขยายได้แล้ว ปิดการขึ้นลงของเที่ยวบินเวลา 22.00 น. ทุกวันเพื่อลดเสียงรบกวนต่อผู้อยู่อาศัยบริเวณใกล้เคียงในเวลากลางคืน และจะเปิดให้เที่ยวบินขึ้นลงอีกครั้งเวลา 7.00 น. ท่าอากาศยานตั้งอยู่ที่เขตฮะกะตะ ทางตะวันออกเฉียงใต้ของศูนย์กลางของเมือง เชื่อมต่อกับส่วนอื่นของเมืองด้วยรถไฟใต้ดินและถนน รถไฟใต้ดินวิ่งจากท่าอากาศยานไปยังย่านธุรกิจใช้เวลาไม่ถึง 10 นาที ท่าอากาศยานฟุกุโอะกะเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารคับคั่งเป็นอันดับสีของญี่ปุ่น ใน..

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานฟุกุโอะกะ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์

ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ถมทะเล ชานเมืองนาโงยะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นท่าอากาศยานแห่งใหม่ (แทนท่าอากาศยานนานาชาติชูบุ - Chubu International Airport) ที่สร้างขึ้นเพื่อรองรับงาน เอกซ์โป 2005 ที่จังหวัดไอชิ เนื่องจากสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่อยู่กึ่งกลางประเทศญี่ปุ่น จึงสามารถเป็นศูนย์กลางการเดินทางทางอากาศของประเทศที่สำคัญ มีลักษณะพิเศษคือมีพื้นที่พาณิชยกรรมแยกอยู่บนชั้นหนึ่งของอาคารผู้โดยสาร เรียกว่า แอร์ซิตี (Aircity) ประกอบด้วยพื้นที่ขายของแบบตะวันตก แบบญี่ปุ่น และพื้นที่พักผ่อน เช่น โรงอาบน้ำแร่ ทำให้นอกจากเป็นท่าอากาศยานแล้ว ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวของประชาชนในจังหวัดไอชิและพื้นที่ใกล้เคียง สามารถเดินทางระหว่างตัวเมืองนาโงยะได้รถไฟฟ้าความเร็วสูง ภายในเวลา 20 นาที.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (Lapangan Terbang Antarabangsa Kuala Lumpur) ตั้งอยู่ที่เขตเซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 กิโลเมตร เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เพื่อใช้เป็นท่าอากาศยานหลัก แทน ท่าอากาศยานสุลต่านอับดุล อาซิส ซาห์ (ซูบัง) ซึ่งตั้งห่างอยู่ทางทิศเหนือ (ปัจจุบันเปิดทำการในสายภายในประเทศ และเครื่องบินขนาดเล็ก) และเป็นท่าอากาศยานหลักของมาเลเซียแอร์ไลน์, มาเลเซียแอร์ไลน์คาร์โก และแอร์เอเชีย ได้รับรางวัลท่าอากาศยานที่ดีที่สุด จาก (AETRA awards) ปี 2005 และ (ACI-ASQ awards) ปี 2006.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ · ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์และท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติวัตไต

ท่าอากาศยานนานาชาติวัดไต (ສະໜາມບິນສາກົນວັດໄຕ) (IATA: VTE, ICAO: VLVT) เป็นหนึ่งในสี่ท่าอากาศยานนานาชาติของประเทศลาว ตั้งอยู่ที่เมืองศรีโคตรบอง นครหลวงเวียงจันทน์ เป็นท่าอากาศยานหลักของการบินลาว และลาวเซ็นทรัลแอร์ไลน์ ท่าอากาศยานมีอาคาร 2 หลังประกอบด้วย 1.อาคารผู้โดยสารในประเทศ 2.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติวัตไต · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาติวัตไต · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ. 2541 แทนที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงเดิม ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้งานเพื่อการพาณิชย์เมื่อปี พ.ศ. 2541 และเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารที่สำคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีประวัติความเป็นมาไม่ยาวนานนัก แต่ท่าอากาศยานแห่งนี้ก็ได้รับรางวัลท่าอากาศยานยอดเยี่ยมระดับนานาชาติมาหลายครั้งในช่วงปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ

ทางอากาศ หอควบคุมการบิน ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่เกาะที่มนุษย์สร้างขึ้นในอ่าวโอซะกะ นอกชายฝั่งเมืองเซ็นนังและเมืองอิซุมิซะโนะ จังหวัดโอซะกะ ญี่ปุ่น ออกแบบโดยสถาปนิก Renzo Piano เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2537 โดย ในระหว่างปีงบประมาณ 2015 (พ.ศ. 2558) ท่าอากาศยานแห่งนี้มีเที่ยวบินเข้าและออก 163,506 เที่ยว ในจำนวนนี้มี 72,251 เที่ยวเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ และอีก 40,328 เที่ยวเป็นเที่ยวบินภายในประเทศ มีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งหมด 23,214,756 คน โดยเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 16,250,323 คน และผู้โดยสารภายในประเทศ 5,289,063 คน.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ · ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง

ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง (จีนตัวย่อ: 上海浦东国际机场, จีน: 上海浦東國際機場, พินอิน: Shànghǎi Pǔdōng Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของผู่ตง ในเขตเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประตูหลักสู่ประเทศจีน รองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศกว่า 17 ล้านคน ในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง

อาคารเทียบเครื่องบิน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นสนามบินระหว่างประเทศสนามบินหลักของกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากใจกลางเมืองประมาณ ในเขตฉาวหยาง และบางส่วนของ เขตซุ่นอี้ บริหารงานโดย บริษัทท่าอากาศยานปักกิ่งแคปิตอล ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ รหัสสนามบิน IATA ของปักกิ่งคือ PEK มาจากการถอดความชื่อของปักกิ่งเป็นอักษรโรมันแบบเดิม (Peking) ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ไชน่า สายการบินแห่งชาติของประเทศจีน ซึ่งมีเที่ยวบินจากที่นี่มากกว่า 120 เส้นทาง (ไม่รวมเที่ยวบินส่งสินค้า) ทั้งนี้ยังมี ไห่หนานแอร์ไลน์ และ ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ที่ยึดสนามบินนี้เป็นสนามบินหลักอีกด้วย ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เพิ่มอาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เป็นสนามบินนานาชาติ ตั้งอยู่ที่เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัทท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งแปรสภาพมาจาก องค์การบริหารงานท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นสนามบินหลักที่ให้บริการผู้โดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าและออกจากประเทศญี่ปุ่น และเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกา เป็นสนามบินที่รองรับเที่ยวบินสำหรับผู้โดยสารมากอันดับ 2 ของญี่ปุ่น (รองจากสนามบินฮะเนะดะ) เป็นสนามบินที่รองรับการขนส่งทางอากาศเป็นอันดับ 1 ของญี่ปุ่นและอันดับ 3 ของโลก ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ สายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ และสายการบินนอร์ธเวสต์แอร์ไลน์ และยังเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ อีกด้วย ท่าอากาศยานานาชาตินาริตะ เคยใช้ชื่อว่า New Tokyo International Airport (新東京国際空港 Shin-Tōkyō Kokusai Kūkō) จนกระทั่งปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาตินินอย อากีโน

ท่าอากาศยานนานาชาตินินอย อากีโน (Ninoy Aquino International Airport) หรือ ท่าอากาศยานนานาชาติมะนิลา (Manila International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศฟิลิปปินส์ มีพื้นที่บริการในมะนิลาและเขตปริมณฑล ท่าอากาศยานตั้งอยู่ระหว่างเขตติดต่อระหว่างสองเมืองคือปาไซกับปาราแนก ประมาณ 7 กิโลเมตรทางใต้ของมะนิลาและทางตะวันตกของมากาตี ท่าอากาศยานแห่งนี้ได้ถูกจัดอันดับเป็นท่าอากาศยานยอดแย่ที่สุดของโลกติดกันสามปีซ้อนระหว่าง..

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาตินินอย อากีโน · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาตินินอย อากีโน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย

ท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย (Sân bay Quốc tế Nội Bài) เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนามตอนเหนือ ให้บริการสำหรับบริเวณเมืองหลวงฮานอย ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมือง 45 กิโลเมตร การเดินทางจากเมืองโดยรถแท็กซี่ใช้เวลา 30-45 นาที.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาติโหน่ยบ่าย · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ

ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ-อังกอร์ (អាកាសយានដ្ឋានអន្តរជាតិសៀមរាបអង្គរ; อากาสยานฐานอนฺตรชาติเสียมราบองฺคร; Siem Reap International Airport, Aéroport International De Siem Reap) คือสนามบินที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเสียมราฐ มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศกัมพู.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต

ท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต (Cảng hàng không quốc tế Tân Sơn Nhất) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในเวียดนาม ตั้งอยู่ในโฮจิมินห์ซิตี.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและท่าอากาศยานนานาชาติเตินเซินเญิ้ต · ดูเพิ่มเติม »

ดรากอนแอร์

ร์กอน(จีน:國泰港龍航空)หรือชือเก่า ดรากอนแอร์(จีน:港龍航空公司) เป็นสายการบินภายในภูมิภาคสัญชาติฮ่องกง ซึ่งเป็นบริษัทลูกของสายการบินคาเธ่ย์แปซิฟิค มีฐานการบินและสำนักงานใหญ่อยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง ปัจจุบันทำการบินใน 47 เส้นทาง โดยที่เป็นเส้นทางในประเทศจีนจำนวน 22 เส้นทาง โดยสายการบินดรากอนแอร์มีข้อตกลงการบินโดยใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน (โค้ดแชร์) กับสายการบินพันธมิตรอื่นๆอีก 5 สายการบิน คือ คาเธ่ย์แปซิฟิค, แอร์ไชนา, มาเลเซียแอร์ไลน์, S7แอร์ไลน์ และ เซินเจิ้นแอร์ไลน.

ดรากอนแอร์และท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน · ดรากอนแอร์และท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ไชนา

แอร์ไชนา (อังกฤษ: Air China, จีนตัวย่อ: 中国国际航空公司, พินอิน: Zhōngguó Guójì Hángkōng Gōngsī) เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นรัฐวิสาหกิจในรัฐบาล และเป็นสายการบินใหญ่อันดับสองของจีนรองจากสายการบินไชนาเซาต์เทิร์นแอร์ไลน์ มีขนาดฝูงบินเป็นอันดับที่ 18 ของโลก มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง, ท่าอากาศยานนานาชาติเฉิงตูซวงหลิว, และท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและแอร์ไชนา · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและแอร์ไชนา · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียนแอร์

รียนแอร์ (ฮันกึล: 대한항공, ฮันจา: 大韓航空) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเกาหลีใต้ และเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุด มีสำนักงานใหญ่ที่โซล มีฐานบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอนและท่าอากาศยานกิมโป นอกจากนี้ยังมีท่าอากาศยานรองอีก คือ ท่าอากาศยานนานาชาติเชจู และท่าอากาศยานนานาชาติกิมแฮ เมืองปูซาน เป็นหนึ่งในพันธมิตรสายการบินสกายทีม แต่เดิมสายการบิน โคเรียนแอร์ นั้นก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลเกาหลีใต้ในปี 1962 ต่อมาในเดือนมีนาคม ปี1969 กลุ่มบริษัท ฮันจินอินดัสตรีกรุ๊ป (Hanjin Transport Group) ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มแชโบล ที่ก่อตั้งโดยนาย โช ชุง-ฮุน บิดาของนาย โช ยัง-โฮ เข้าถือหุ้นใหญ่และเป็นผู้บริหารสายการบินโคเรียนแอร์ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นม.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและโคเรียนแอร์ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและโคเรียนแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์

China Eastern Airlines and Shanghai Airlines headquarters ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินที่ให้บริการทั้งเส้นทางภายในประเทศ และเส้นทางระหว่างประเทศ โดยมีฐานการบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง และท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่หงเฉียว และยังมีฐานการบินที่ท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้า และท่าอากาศยานนานาชาติซีอานเสียนหยาง ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของจีน เมื่อนับจากจำนวนผู้โดยสาร และเมื่อวันที่ 16 เมษายน..2010 ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ได้ประกาศตัวเข้าเป็นสามชิกของกลุ่มสกายทีม.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาแอร์ไลน์

CAL Park, China Airlines headquarters The former China Airlines headquarters in Taipei ไชน่าแอร์ไลน์ เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถาหยวน และมีสำนักงานใหญ่ที่เขตต้าหยวน เทศมณฑลเถาหยวน ให้บริการจุดหมายปลายทางทั้งในทวีปเอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ และโอเชียเนีย โดยเฉพาะการเปิดเส้นทางระหว่างไต้หวันกับจีนแผ่นดินใหญ่ซึ่งเริ่มให้บริการเมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 จุดหมายที่สำคัญคือเมืองเซี่ยงไฮ้ กวางโจว ปักกิ่ง และฮ่องกง คู่แข่งที่สำคัญของไชนาแอร์ไลน์ คือสายการบินอีวาแอร์ซึ่งเป็นสายการบินเอกชนของไต้หวัน ในเครื่อเอเวอร์กรีน.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและไชนาแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและไชนาแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์

China Southern head office ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ เป็นสายการบินหนึ่งในสามสายการบินหลักสัญชาติจีน สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ เขตไป่หยวน เมืองกว่างโจว มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลกในจำนวนผู้โดยสาร เป็นสายการบินที่มีขนาดฝูงบินใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย, และอันดับ 4 ของโลกในจำนวนผู้โดยสารเดินทางภายในประเทศ มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป้หยวน และท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง กับ 121 จุดหมายปลายทาง ปัจจุบันเข้าร่วมกลุ่มพันธมิตรทางการบินสกายทีม ในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เวียดนามแอร์ไลน์

แอร์บัส เอ 321 ของเวียดนาม แอร์ไลน์ เวียดนาม แอร์ไลน์ (เวียดนาม: Tổng công ty Hàng không Quốc gia Việt Nam) เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเวียดนาม เดิมเป็นหน่วยงานของรัฐ ก่อนที่จะแปรรูปกิจการมาเป็นเวียดนาม แอร์ไลน์ คอร์ปอเรชั่น ในปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและเวียดนามแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและเวียดนามแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียน่าแอร์ไลน์

อเชียนาแอร์ไลน์ (Asiana Airlines) เป็นสายการบินที่มีฐานอยู่ที่โซล สาธารณรัฐเกาหลี และเป็นหนึ่งในสองสายการบินหลักของเกาหลีใต้ เอเชียนาแอร์ไลน์เป็นสมาชิกของ Star Alliance และให้บริการเส้นทางการบินไปยังจุดหมายปลายทางภายในประเทศ 12 แห่ง และระหว่างประเทศ 73 แห่งใน 17 ประเทศ สำนักงานใหญ่และศูนย์กลางระหว่างประเทศของเอเชียนาแอร์ไลน์ตั้งอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินชอน (ใกล้กับโซล) ขณะที่ศูนย์กลางภายในประเทศตั้งอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติกิมโป.

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและเอเชียน่าแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและเอเชียน่าแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจแปนแอร์ไลน์

แปนแอร์ไลน์ (Japan Airlines) หรือ บริษัท สายการบินญี่ปุ่น มหาชนจำกัด หรือ เจเอแอล (JAL) เป็นสายการบินที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศญี่ปุ่นรองจากสายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ มีศูนย์การบินอยู่สองแห่งในโตเกียวคือท่าอากาศยานนานาชาตินะริตะกับท่าอากาศยานนานาชาติฮะเนะดะ และอีกสองแห่งในจังหวัดโอซะกะคือท่าอากาศยานนานาชาติคันไซและท่าอากาศยานนานาชาติอิตะมิ ปัจจุบันมีเส้นทางบินระหว่างประเทศ 33 จุดหมายในทวีปเอเชีย, อเมริกา, ยุโรป และโอเชียเนีย และมีเส้นทางบินในประเทศ 59 จุดหมาย สายการบินก่อตั้งในรูปแบบบริษัทเอกชนเมื่อ 1 สิงหาคม..

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและเจแปนแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮและเจแปนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ

ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน มี 80 ความสัมพันธ์ขณะที่ ท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ มี 47 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 27, ดัชนี Jaccard คือ 21.26% = 27 / (80 + 47)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวินและท่าอากาศยานนานาชาติคิมแฮ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »