โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทิเชียนและอย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทิเชียนและอย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้

ทิเชียน vs. อย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้

“ภาพเหมือน” (ราว ค.ศ. 1488) ภาพเหมือนดยุ๊คแห่งเวนิสมาร์คานโตนิโอ เทรวิซานิ (Marcantonio Trevisani) ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่บูดาเพช ประเทศฮังการี เทพดานาเอ” (Danaë) ภาพหนึ่งจากหลายภาพจากตำนานเทพที่ทิเชียนเขียน จ้างโดยพระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปนใน ค.ศ. 1554 แม้ว่าไมเคิล แอนเจโลจะติจากมุมมองของการวาดเส้นแต่ทิเชียนก็เขียนภาพนี้อีกหลายภาพให้กับผู้อุปถัมภ์อื่นๆ ทิเซียโน เวเชลลี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ทิเชียน หรือ ทิชัน (Tiziano Vecelli หรือ Tiziano Vecellio หรือ Titian.) (ค.ศ. 1485 - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1576) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความสำคัญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์ของตระกูลการเขียนแบบเวนิส ทิเชียนเกิดที่พิเว ดี คาดอเร (Pieve di Cadore) ใกล้เมืองเบลลูโน ในรัฐอาณาจักรเวนิส จึงรู้จักกันในนามว่า “ดา คอเดเร” ตามเมืองเกิดด้วย ทิเชียน เป็นจิตรกรที่มีความสามารถหลายด้าน ผู้เขียนได้ทั้งภาพเหมือนและภาพภูมิทัศน์อันเป็นสองลักษณะที่ทำให้มีชื่อเสียง และการเขียนตำนานเทพ และศิลปะคริสต์ศาสนา ถ้าทิเชียนเสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 40 ปีก็ยังถือเป็นจิตรกรที่มีอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในสมัยนั้น แต่ทิเชียนก็อยู่ต่อมาอีก 50 ปีในขณะที่เปลี่ยนแปลงวิธีเขียนภาพจากเดิมไปเป็นอย่างมาก นักวิจารณ์บางคนไม่เชื่อว่างานที่สร้างเมื่อสมัยต้นและสมัยปลายของทิเชียนเป็นงานของจิตรกรคนเดียวกัน ลักษณะที่ทำให้ทราบว่าเป็นคนเดียวกันคือความสนใจอย่างลึกซึ้งในการใช้สี งานในสมัยหลังแม้จะไม่ใช้สีสดและเรืองอย่างสมัยแรก แต่ฝีแปรงที่พริ้วที่แฝงให้เห็นความที่จะเป็นสีต่างๆ เพียงเล็กน้อยเป็นสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก. “Noli me Tangere” (อย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้)โดยฮันส์ โฮลไบน์ (ผู้ลูก) อย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้ หรือเดิมใช้ว่า อย่าแตะต้องเรา (Noli me tangere; Do not cling to meNew Testament, John, Chapter 20, Paragraph 17:"Jesus said to her, Do not cling to me, for I have not yet ascended to the Father; but go to my brothers and say to them, 'I am ascending to my Father and your Father, to my God and your God." หรือ Do not touch me หรือ Touch me not) เป็นถ้อยคำที่พระเยซูกล่าวกับมารีย์ชาวมักดาลา เมื่อทรงพบนางหลังจากที่ทรงฟื้นขึ้นจากความตายตามที่บันทึกใน ประโยคนี้เป็นที่นิยมในเพลงสวดเกรกอเรียน (Gregorian chant) ในยุคกลาง และเป็นหัวข้อที่นิยมกันในงานจิตรกรรมที่เกี่ยวกับการคืนพระชนม์ของพระเยซู (Resurrection) ประโยคเดิม “Μή μου ἅπτου” ในพระวรสารนักบุญยอห์นซึ่งเป็นภาษากรีกแปลว่า “จะหยุดยั้งเรานั้นหาได้ไม่” หรือ “จงอย่าหยุดยั้งเรา” มากกว่าที่จะแปลว่า “อย่าแตะต้องเรา” (Don't touch me) เช่นที่เคยแปลกันในบางฉบั.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทิเชียนและอย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้

ทิเชียนและอย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มารีย์ชาวมักดาลาประเทศสเปน

มารีย์ชาวมักดาลา

มารีย์ชาวมักดาลา หรือพบเขียนว่าแมรี แม็กดาเลน (Μαρία ἡ Μαγδαληνή, Mary Magdalene) เป็นหนึ่งในผู้ติดตามพระเยซูที่ได้รับการสรรเสริญสูงสุดคนหนึ่ง และเป็นสาวกสตรีคนสำคัญที่สุดในการเคลื่อนไหวของพระเยซู พระเยซูทรงขับ "เจ็ดผี" ออกจากตัวนาง ซึ่งตามฉบับนั้นตีความว่าหมายถึงอาการป่วยอันซับซ้อนSaint Mary Magdalene.

ทิเชียนและมารีย์ชาวมักดาลา · มารีย์ชาวมักดาลาและอย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ทิเชียนและประเทศสเปน · ประเทศสเปนและอย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทิเชียนและอย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้

ทิเชียน มี 95 ความสัมพันธ์ขณะที่ อย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้ มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 1.82% = 2 / (95 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทิเชียนและอย่าหน่วงเหนี่ยวเราไว้ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »