โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทินลิซซีและร็อก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทินลิซซีและร็อก

ทินลิซซี vs. ร็อก

ทินลิซซี (Thin Lizzy) เป็นวงฮาร์ดร็อกจากกรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ ก่อตั้งในปี 1969 ด้วย 2 ผู้ก่อตั้งหลัก ได้แก่มือกลองไบรอัน ดาว์นีย์ (Brian Downey) และมือเบสและร้องนำ ฟิล ลินอตต์ (Phil Lynott) ซึ่งพวกเขารวมกลุ่มกันสมัยเรียนอยู่ในโรงเรียน โดยมีลินอตต์ ที่ถือเป็นไอคอนของวง ซึ่งได้รับการจดจำด้วยเอกลักษณ์ไว้หนวดอ่อนๆและทรงผมบ๊อบ เขาได้ร่วมอัดสตูดิโอกับวงถึง 12 อัลบั้ม ทินลิซซีมีเพลงที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงอาทิเช่น "วิสกีย์อินเดอะจาร์" (Whiskey in the Jar), "เจลล์เบรค" (Jailbreak) และ "เดอะบอยส์อาร์แบ๊กค์อินทาวน์" (The Boys Are Back in Town) ซึ่งเพลงเหล่านี้ยังคงถูกนำมาเล่นบ่อยครั้งในสไตล์ฮาร์ดร็อกและคลาสสิกร็อกตามเสียงวิทยุ นับตั้งแต่ลินอตต์เสียชีวิตลงในปี 1986 ด้วยวัยเพียง 36 ปี กระแสความนิยมของทินลิซซีก็หายไป จนต่อมาสมาชิกวงรุ่นที่ร่วมเล่นกับลินอตต์ก็กลับมารวมอีกครั้งทั้งมือกีตาร์ สกอตต์ กอร์แฮม (Scott Gorham) และจอห์น ไซเคส (John Sykes) แม้ว่าไซเคสจะออกไปในปี 2009 ก็ตาม กอร์แฮมก็ยังคงวงชื่อนี้ไว้ต่อ โดยได้มือกลองไบรอัน โดนีย์มาร่วม (Brian Downey) ทินลิซซีภายใต้มือเบสและร้องนำอย่าง ลินอตต์ ซึ่งแต่งเพลงเกือบทุกเพลงของวง และถือเป็นชาวไอริชผิวสีคนแรกๆที่ถือว่าประสบความสำเร็จอย่างสูงในวงการร็อก ทินลิซซี ยังประกอบด้วยมือกีตาร์ที่สร้างความสำเร็จให้กับเพลงในสไตล์ฮาร์ดร็อกและรวมถึงมือกลองที่คอยสร้างจังหวะเคียงคู่กับลินอตต์ในฐานะมือเบส วงได้เปลี่ยนสมาชิกบ่อยครั้ง เคยมีครั้งหนึ่งที่เปิดรับสมาชิกที่เป็นคาทอลิกและโปรแตสแตนท์ ในช่วงที่ไอร์แลนด์กำลังมีปัญหาเรื่องนิกายกันอยู่ ดนตรีของพวกเขาส่งผลต่ออิทธิพลต่อหลายแนวดนตรี ทั้ง บลูส์, โซล, ไซเคเดลิกร็อก และรวมถึงดนตรีโฟล์คพื้นบ้านของชาวไอริช แต่ทินลิซซีมักจะถูกจัดเป็นวงฮาร์ดร็อกและในบางครั้งก็เป็นถึงขั้นเฮฟวีเมทัล อ้างจากนิตยสารโรลลิงสโตน ก็ได้กล่าวว่าทินลิซซี เป็นวงฮาร์ดร็อกอย่างแท้จริง "แสนจะห่างไกลจากเสียงร้องแนวเมทัลยุค 70". ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทินลิซซีและร็อก

ทินลิซซีและร็อก มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บลูส์บลูส์ร็อกฮาร์ดร็อกดนตรีโฟล์กโซล (แนวดนตรี)ไซเคเดลิกร็อกเฮฟวีเมทัล

บลูส์

ลูส์ (Blues) เป็นรูปแบบของดนตรีประเภทหนึ่ง เกิดจากสภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของคนดำที่หลั่งไหลเข้าสู่สหรัฐเพื่อการเป็นทาส สภาพชีวิตที่คับแค้นของพวกเขาได้ถูกนำเสนอผ่านบทเพลงด้วยการร้อง หรือสวดอ้อนวอนในทางศาสนาที่ เป็นท่วงทำนองที่น่าเศร้า อันเป็นเอกลักษณ์ของการร้องและท่วงทำนองที่เกิดจากเครื่องดนตรีที่ไม่มีคุณภาพจากความแร้นแค้น และความรู้ในด้านทฤษฎีดนตรีที่ผิดเพี้ยนไปจากเดิม ทำให้มีเสียงหรือคอร์ดความเพี้ยนซึ่งต่อมาก็ได้สร้างความแปลกหู จนเป็นลักษณะและเอกลักษณ์เฉพาะ ลักษณะสำคัญของเพลงบลูส์คือ การใช้เสียงร้อง หรือเสียงของเครื่องดนตรีที่เพี้ยนจากเสียงในบันไดเสียง ซึ่งเรียกกันว่า เบนท์ หรือ บลูโน้ต และการสไลด์เสียง ปกติเพลงบลูส์เป็นเพลงในอัตราจังหวะ 4/4 ใน 1 วรรคจะมี 12 ห้องเพลง การร้องแต่ละวรรคจะมีการอิมโพรไวเซชั่นไปจากทำนองเดิม เช่นเดียวกับการบรรเลงโดยเครื่องดนตรี ลักษณะเฉพาะของเพลงบลูส์ถูกวางด้วยด้วยรากฐานจากความเจ็บปวดแร้นแค้น ทุกข์ทรมาน ของชีวิต เนื้อเพลง และสำเนียงของบลูส์จึงแฝงความเจ็บปวดคล้ายการสะอึกสะอื้นเวลาร้องให้ จึงใช้แสดงอารมณ์เศร้าได้ดี นอกจากนั้น เรื่องของจังหวะ (rhythm) ของบลูส์ที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ และเป็นแบบแผนนำไปสู่ดนตรีรูปแบบอื่นมากมาย เช่น ฟังค์,โซลฟังค์,ริทึ่ม แอนด์ บลูส์, ร็อก แอนด์ โรล เป็นต้น ศิลปินบลูส์ที่น่าสนใจมีด้วยกันในหลายยุค เช่น BB.king ("You Know I Love You," "Woke Up This Morning," "Please Love Me,"), Muddy Waters, Buddy Guy, Stevie Ray Vaughan, Eric Clapton, John Lee Hooker,Jimi Hendrix ที่มาของคำว่า บลูส์ ในภาษาอังกฤษ blues หมายถึง อาการโศกเศร้า ในประโยคเช่น I feel blues.

ทินลิซซีและบลูส์ · บลูส์และร็อก · ดูเพิ่มเติม »

บลูส์ร็อก

ลูส์ร็อก (Blues-rock) เป็นแนวเพลงผสมผสานระหว่างการแสดงคีตปฏิภาณแบบบลูส์ บนคอร์ดแบบ 12 บาร์บลูส์และการแจมแบบบูกี้กับสไตล์ร็อกแอนด์โรล โดยแกนหลักของบลูส์-ร็อก คือเครื่องดนตรีกีตาร์ไฟฟ้า กีตาร์เบสและกลองชุด ซึ่งกีตาร์ไฟฟ้าจะขยายผ่านตู้แอมไฟฟ้า ให้มีลักษณะรุนแรงมากขึ้น แนวเพลงนี้เริ่มพัฒนาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1960 ในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่ปิเอโร สการัฟฟีเรียกว่า "เป็นแนวเพลงริทึมแอนด์บลูส์ที่เล่นโดยนักดนตรีขาวชาวยุโรป" วงดนตรีอังกฤษอย่างเช่น เดอะฮู, เดอะยาร์ดเบิร์ดส, เลดเซปเพลิน, ดิแอนนิมอลส์, ครีม และเดอะโรลลิงสโตนส์ ได้ทดลองดนตรีดังกล่าวจากศิลปินบลูส์ชาวอเมริกัน อย่าง ฮาวลิน วูล์ฟ, โรเบิร์ต จอห์นสัน, จิมมี ลีดและมัดดี วอเตอร์ส ขณะที่วงบลูส์ร็อกยุคแรก "จะพยายามเล่นเพลงแจ๊ซยาว ๆ ที่มีลักษณะคีตปฏิภาณ อย่างเห็นได้ชัด" โดยคริสต์ทศวรรษ 1970 บลูส์ร็อกเริ่มหนักขึ้นกับเน้นท่อนริฟฟ์"Blues-rock," Allmusic.com (Accessed September 29 2006), และในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เส้นแบ่งระหว่างบลูส์ร็อกและฮาร์ดร็อกเกือบจะไม่เห็น วงแนวนี้บันทึกเสียงอัลบั้มแนวร็อก และในคริสต์ทศวรรษ 1980 และ 1990 ก็เริ่มกลับมาที่รากบลูส์เดิม และมีศิลปินอย่าง "เฟบูลัสธันเดอร์เบิร์ดสและสตีวี เรย์ วอแกน สร้างชื่อเสียงวงการร็อกขึ้น".

ทินลิซซีและบลูส์ร็อก · บลูส์ร็อกและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ดร็อก

ฮาร์ดร็อก (Hard rock) เป็นแนวเพลงย่อยของดนตรีร็อก ที่มีรากฐานในช่วงต้นยุค 1960 ของดนตรีไซเคเดลิกร็อก และการาจร็อก และมีความหนักกว่าดนตรีร็อกทั่วไป เป็นต้นแบบของดนตรีเฮฟวี ที่ใช้การบิดเสียงของกีตาร์, กีตาร์เบส,คีย์บอร์ด และกลอง หมวดหมู่:ดนตรีร็อก หมวดหมู่:ฮาร์ดร็อก.

ทินลิซซีและฮาร์ดร็อก · ร็อกและฮาร์ดร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีโฟล์ก

นตรีโฟล์ก (Folk music) มีความหมายที่แตกต่าง หลากหลาย อาท.

ดนตรีโฟล์กและทินลิซซี · ดนตรีโฟล์กและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

โซล (แนวดนตรี)

ซล เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมกันระหว่างอาร์แอนด์บีและกอสเปล กำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกา จากร็อกแอนด์โรลฮอลล์ออฟเฟม โซลมีความหมายว่า "ดนตรีที่เกิดขึ้นโดยคนผิวสี ในอเมริกา ที่เปลี่ยนรูปจากกอสเปลและอาร์แอนด์บี ในจังหวะที่สนุกสนาน โดยไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทางศาสนา" การแสดงจะผ่านทางอารมณ์ และเมโลดี้มีการตกแต่งในลักษณะคีตปฏิภาณ นอกจากนี้ยังใช้ซาวด์แบบวนและเป็นเครื่องเสริม จังหวะที่ติดหู อาจมีการตบมือประกอบ การเคลื่อนไหวแบบพลาสติก องค์ประกอบอีกอย่างของโซลที่เรียกว่า call and response ที่เป็นการร้องโต้ตอบกันระหว่าง นักร้อง กับคอรัส โดยเฉพาะเสียงที่ตึง.

ทินลิซซีและโซล (แนวดนตรี) · ร็อกและโซล (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ไซเคเดลิกร็อก

ซเคเดลิกร็อก (Psychedelic rock) เป็นแนวเพลงร็อกชนิดหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมไซเคเดลิก หรือพยายามที่จะปรับเปลี่ยนประสบการณ์การเห็นภาพหลอนใหม่ โดยแนวเพลงนี้เกิดขึ้นในช่วงกลางทศวรรษ 1960 ท่ามกลางกระแสเพลงการาจร็อก และวงโฟล์กร็อก ในอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ไซเคเดลิกร็อกได้เชื่อมการเปลี่ยนแปลงจากแนวบลูส์-ร็อกเป็นฐานหลัก ไปเป็นโพรเกรสซีฟร็อก, อาร์ตร็อก, เอ็กซ์เพอร์ริเมนทอลร็อก และเฮฟวีเมทัล.

ทินลิซซีและไซเคเดลิกร็อก · ร็อกและไซเคเดลิกร็อก · ดูเพิ่มเติม »

เฮฟวีเมทัล

ฟวีเมทัล หรือบางครั้งเรียกย่อว่า เมทัล เป็นแนวเพลงร็อกประเภทหนึ่งที่พัฒนาในช่วงปลายทศวรรษที่ 60 และต้นทศวรรษที่ 70 ด้วยรากฐานของดนตรี บลูส์-ร็อก ฮาร์ดร็อก และ ไซเคเดลิกร็อก โดยมีหลายวงได้พัฒนาเฮฟวีเมทัล ให้มีความหนา, หนัก, ดนตรีที่เน้นกีตาร์และกลอง และลักษณะเฉพาะตัวที่มีการโซโล่กีตาร์ที่รวดเร็ว เพลงแนวเฮฟวีเมทัลได้รับความนิยมจากแฟนทั่วโลก ที่แฟนเหล่านั้นจะเรียกตัวเองว่า เมทัลเฮดส์ หรือ เฮดแบงเกอร์ และถึงแม้ว่าวงเมทัลในช่วงต้น ๆ อย่าง เล็ด เซ็พเพลิน, แบล็ค แซบบาธ และ ดีพ เพอร์เพิล จะได้รับความสนใจจากกลุ่มคนฟังหลัก แต่ก็มีบ้างที่พวกเขาจะถูกด่าทอ.

ทินลิซซีและเฮฟวีเมทัล · ร็อกและเฮฟวีเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทินลิซซีและร็อก

ทินลิซซี มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ ร็อก มี 61 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 9.46% = 7 / (13 + 61)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทินลิซซีและร็อก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »