โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11และอำเภอบ้านธิ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11และอำเภอบ้านธิ

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 vs. อำเภอบ้านธิ

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 สายอินทร์บุรี–เชียงใหม่ เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานแนวเหนือ–ใต้ เชื่อมการคมนาคมระหว่างจังหวัดในภาคกลางกับจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีระยะทาง 545.779 กิโลเมตร ปลายทางทิศใต้ของทางหลวงสายนี้อยู่ที่ทางแยกต่างระดับอินทร์บุรี ที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ในอำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ส่วนปลายทางทิศเหนืออยู่ที่ถนนสุเทพ ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม. ้านธิ (40px) เป็นอำเภอขนาดเล็ก อยู่ทางตอนเหนือสุดของจังหวัดลำพูน แยกตัวออกจากอำเภอเมืองลำพูน มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน มีแหล่งมรดกทางประวัติศาสตร์โบราณคดีที่น่าสนใจ ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนไม่น้อยอีกด้วย อำเภอบ้านธิได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2533 โดยชื่อ "บ้านธิ" ตั้งขึ้นตามลำน้ำแม่ธิที่ไหลผ่านหมู่บ้านต่าง ๆ ของอำเภอนี้ สีประจำอำเภอคือสีชมพู.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11และอำเภอบ้านธิ

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11และอำเภอบ้านธิ มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อำเภอสันกำแพงอำเภอสารภีอำเภอแม่ออนอำเภอเมืองลำพูนจังหวัดลำพูนจังหวัดเชียงใหม่

อำเภอสันกำแพง

ันกำแพง (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหม่ที่มีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาทุก ๆ ด้าน เป็นอำเภอที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย ที่ขึ้นชื่อได้แก่ บ้านบ่อสร้าง เป็นแหล่งรวมหัตถกรรมการทำร่มกระดาษสา ป่าดงปงไหว ตลอดเส้นทางจากตัวอำเภอเมืองไปยังอำเภอสันกำแพงจะรายล้อมไปด้วยต้นไม้ใหญ่ 2 ข้างทาง นอกจากจะเป็นอำเภอที่มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายแล้ว อำเภอสันกำแพงยังเป็นบ้านเกิดของอดีตนายกรัฐมนตรีไทย คือ นายทักษิณ ชินวัตร และนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11และอำเภอสันกำแพง · อำเภอบ้านธิและอำเภอสันกำแพง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสารภี

รภี (45px) เป็นอำเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหม่ที่มีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาทุก ๆ ด้านจนเป็นอำเภอขนาดใหญ่ในแง่สถานประกอบการและอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่ของจังหวัด ได้รับประโยชน์มาจากนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ ลำพูน ปัจจุบันอำเภอสารภีถือได้ว่ามีการพัฒนาจนสภาพความเจริญเป็นเขตเมืองที่เชื่อมต่อกับนครเชียงใหม่ มีประชากรหนาแน่นรองจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ และเป็นอำเภอที่รองรับความเจริญของนครเชียงใหม่เพื่อขยายไปยังเมืองลำพูน อำเภอสารภีเป็นอำเภอที่มีพื้นที่เล็กที่สุดและเป็นเพียงอำเภอเดียวในจังหวัดเชียงใหม่ที่ไม่มีภูเขา นอกจากนี้อำเภอสารภียังมีจุดเด่น คือ ถนนสายต้นยางซึ่งมีอายุกว่าร้อยปีเรียงรายตลอดสองข้างทาง มีความยาวเริ่มตั้งแต่เขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ไปจรดเขตอำเภอเมืองลำพูน.

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11และอำเภอสารภี · อำเภอบ้านธิและอำเภอสารภี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแม่ออน

แม่ออน (45px) เป็นอำเภอขนาดเล็กในจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่มีทั้งภูเขาและที่ราบสำหรับทำเกษตรกรรม นับเป็นพื้นที่รอบนอกสุดของเมืองเชียงใหม่ มีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ วัดพระธาตุดอยผาตั้ง น้ำพุร้อนสันกำแพง ถ้ำเมืองออน น้ำตกแม่กำปอง หมู่บ้านโฮมสเตย์แม่กำปอง และวังเย็น.

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11และอำเภอแม่ออน · อำเภอบ้านธิและอำเภอแม่ออน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองลำพูน

มืองลำพูน (60px) เป็นอำเภอศูนย์กลางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนของจังหวัดลำพูน และเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดลำพูน อีกทั้งยังเป็นที่ตั้งของอาณาจักรหริภุญชัยที่เรืองอำนาจอยู่ในแถบภาคเหนือตอนบนในอดีตอีกด้วย ภายในเมืองมีโบราณสถานที่เก่าแก่อายุกว่า 1,300 ปีตั้งอยู่มากมาย เช่น พระรอดอายุ 1,300 ปี กำแพงเมืองโบราณ พระธาตุหริภุญชัย กู่ช้างกู่ม้.

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11และอำเภอเมืองลำพูน · อำเภอบ้านธิและอำเภอเมืองลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

จังหวัดลำพูนและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 · จังหวัดลำพูนและอำเภอบ้านธิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

จังหวัดเชียงใหม่และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 · จังหวัดเชียงใหม่และอำเภอบ้านธิ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11และอำเภอบ้านธิ

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 มี 111 ความสัมพันธ์ขณะที่ อำเภอบ้านธิ มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 4.38% = 6 / (111 + 26)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11และอำเภอบ้านธิ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »