โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิและภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิและภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น

ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ vs. ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น

"คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ" ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ (富嶽三十六景, Thirty-six Views of Mount Fuji) เป็นภาพชุดอุกิโยะ (Ukiyo-e) ภาพพิมพ์แกะไม้ โดยจิตรกรชาวญี่ปุ่น คะสึชิกะ โฮะกุไซ (Katsushika Hokusai) เป็นภาพภูเขาฟูจิในฤดูต่างๆ และในสภาวะอากาศต่างๆ ทั้งใกล้และไกล อันที่จริงแล้วเป็นชุดที่มีด้วยกันทั้งหมด 46 ภาพที่สร้างระหว่าง.. ทศกาลตุ๊กตา คุนิชิคะ โตะโยะฮะระ ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น (木版画, moku hanga, Woodblock printing in Japan) เป็นวิธีที่ใช้ในการสร้างงานศิลปะที่เรียกว่า “ภาพอุกิโยะ” และใช้อย่างแพร่หลายในการพิมพ์หนังสือในช่วงเวลาเดียวกัน การพิมพ์แกะไม้เป็นสิ่งที่ทำกันในประเทศจีนมาเป็นเวลาหลายร้อยปีในการพิมพ์หนังสือก่อนที่จะมีการประดิษฐ์แท่นพิมพ์กันขึ้น แต่ไม่ได้นำมาใช้ในประเทศญี่ปุ่นจนกระทั่งมาถึงสมัยเอะโดะ (ค.ศ. 1603-ค.ศ. 1867) วิธีการพิมพ์ก็คล้ายคลึงกันกับที่เรียกว่าแกะไม้ในการสร้างพิมพ์ทางตะวันตก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิและภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น

ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิและภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาพพิมพ์แกะไม้ภาพอุกิโยะฮิโระชิเงะคลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะคะสึชิกะ โฮะกุไซ

ภาพพิมพ์แกะไม้

''Four horsemen of the Apocalypse'' โดย อัลเบรชท์ ดือเรอร์ ภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut) เป็นศิลปะการพิมพ์แบบนูน โดยที่ภาพที่จะพิมพ์ใช้แกะบนผิวไม้ เมื่อต้องการพิมพ์ก็จะทาส่วนพิมพ์ด้วยลูกกลิ้งมือ ทำให้หมึกเกาะบริเวณที่ต้องการจะพิมพ์แต่ไม่เกาะบนส่วนอื่นๆ ของพิมพ์ที่ไม่ต้องการจะพิมพ์ การพิมพ์หลายสีก็ใช้พิมพ์ไม้หลายพิมพ์ แต่ละสีก็จะใช้พิมพ์ต่างจากสีอื่น ศิลปะการแกะไม้สำหรับภาพพิมพ์แกะไม้เรียกว่า การแกะพิมพ์สำหรับภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut printmaking) มักจะไม่ใช้ในการแกะเฉพาะแต่ละภาพ แต่มักจะใช้สำหรับการแกะพิมพ์ที่มีทั้งตัวหนังสือแล.

ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิและภาพพิมพ์แกะไม้ · ภาพพิมพ์แกะไม้และภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาพอุกิโยะ

ทิวทัศน์ของภูเขาฟูจิภาพหนึ่งในชุด “สถานี 53 สถานีบนเส้นทางโทไกโด” (Fifty-three Stations of the Tōkaidō) โดยฮิโระชิเงะ ตีพิมพ์ ค.ศ. 1850 ภาพอุกิโยะ (浮世絵, Ukiyo-e) คือกลุ่ม (genre) ของภาพศิลปะของของญี่ปุ่นที่เกิดขึ้นในยุคเอะโดะ (Edo) ซึ่งเป็นภาพที่แสดงความเกี่ยวเนื่องกับชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของคนชั้นกลางในยุคนั้น โดยมีหัวข้อเกี่ยวกับสิ่งบันเทิงเริงรมย์ ไม่ว่าจะเป็นการแสดงการขับร้อง สตรีในแหล่งเริงรมย์ ภูมิทัศน์ แต่มีบางส่วนที่อยู่ในหัวข้อของประวัติศาสตร์ ราชสำนัก และศาสนาด้วย โดยภาพศิลปะในกลุ่มนี้ มีทั้งภาพเขียนด้วยมือ (肉筆画) ซึ่งมีราคาสูงกว่าเพราะแต่ละภาพมีเพียงชิ้นเดียว และ ภาพที่พิมพ์จากแม่พิมพ์ไม้ (木版画) ที่มีราคาถูกกว่าเนื่องจากสามารถพิมพ์ได้จำนวนมากกว่า คนทั่วไปสามารถซื้อหาได้ง่าย ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปจะเป็นภาพพิมพ์จากแม่พิมพ์ไม้นี้ คำว่า “อุกิโยะ” (ukiyo) ความหมายแต่เดิมได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธ เขียนเป็นตัวหนังสือภาษาญี่ปุ่นว่า 憂世 หมายถึง โลกนี้มีแต่ความทุกข์ หลังจากนั้นรับความหมายจากภาษาจีนของคำว่า 浮生 ซึ่งหมายถึง ชีวิตนี้ไม่เที่ยง (แปรปรวน) เข้ามารวมกัน กลายเป็นตัวเขียนใหม่คือ 浮世 ซึ่งหมายถึง โลกนี้ไม่เที่ยง ผู้คนในยุคหลังที่ใช้ชีวิตบันเทิงเริงรมย์ และหันหลังให้ความเคร่งครัดทางศาสนาในยุคก่อนหน้า มองว่าในเมื่อโลกนี้ไม่มีอะไรที่เที่ยงแท้แน่นอน ก็ควรปล่อยตัวปล่อยใจไปกับสิ่งที่บันเทิงใจ (浮かれる ukareru) จึงนำศัพท์นี้มาใช้ในความหมายบันเทิงเริงรมย์ ซึ่งตรงกันข้ามกับความหมายในยุคแรก ภาพที่วาดออกมาตามแนวนี้ จึ่งเป็นภาพของสิ่งบันเทิงใจในสมัยนั้น ไม่ว่าจะเกี่ยวกับละครคะบุกิ ซูโม่ เกอิชา หญิิงงามเมืองทั้งระดับทั่วๆ ไป และระดับสูงที่อยู่บริเวณ Yoshimura ซึ่งมีชื่อเรียกว่า Oira (花魁) ไปจนถึงภาพที่แสดงการเสพกามที่เรียกว่า ชุงงะ (春画 shunga) ลักษณะดังกล่าวทำให้ “ukiyo-e” หรือ “ภาพของโลกที่น่าบันเทิงใจ” เป็นกลุ่มภาพที่มีเอกลักษณ์ของตนเองต่างไปจากภาพเขียนประเภทอื่น นักประพันธ์ร่วมสมัยอะซะอิ เรียวอิ (Asai Ryōi) ได้บรรยายถึง เรื่องราวความเปลี่ยนแปลงของความหมายตามยุคสมัยของคำว่า “อุกิโยะ” ในนิยายชื่อ Ukiyo monogatari (浮世物語 หรือ "ตำนานของ อุกิโยะ") ที่เขียนในปี..

ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิและภาพอุกิโยะ · ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่นและภาพอุกิโยะ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิโระชิเงะ

อุตะงะวะ ฮิโระชิเงะ (ภาษาญี่ปุ่น: 歌川広重, ภาษาอังกฤษ: Hiroshige หรือ Utagawa Hiroshige หรือ Andō Hiroshige (安藤広重)) (ค.ศ. 1797 - 12 ตุลาคม ค.ศ. 1858) เป็นจิตรกรคนสำคัญของประเทศญี่ปุ่นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความเชี่ยวชาญทางการสร้างภาพพิมพ์แกะไม้ (woodcut) สมัยที่เรียกว่า “ภาพอุกิโยะ” ซึ่งเป็นภาพพิมพ์แกะไม้ที่สร้างระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 20 ที่เป็นภาพภูมิทัศน์ ตำนานจากประวัติศาสตร์ การละคร และจากชีวิตความสนุก ฮิโระชิเงะเกิดเมื่อปี..

ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิและฮิโระชิเงะ · ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่นและฮิโระชิเงะ · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ

The Great Wave off Kanagawa คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ เป็นภาพพิมพ์แกะไม้ขนาดกว้าง 10 นิ้ว ยาว 15 นิ้ว ที่เก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโปลิตัน ในนิวยอร์ก เป็นหนึ่งในผลงานในชุด ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ (Fugaku Sanjurokkei) ของคะสึชิกะ โฮะกุไซ (1760-1849) ศิลปินชาวญี่ปุ่น เผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1832 ในยุคเอโดะ ภาพนี้เป็นภาพของคลื่นขนาดใหญ่ที่ถูกลมพัดเข้าใส่เรือประมงในจังหวัดคะนะงะวะ มีฉากหลังเป็นภูเขาไฟฟูจิ มักมีผู้เข้าใจผิดอยู่บ่อยครั้งว่าเป็นภาพของคลื่นสึนามิ ภาพนี้มีสำเนาอยู่หลายชุด ทั้งที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน นิวยอร์ก, พิพิธภัณฑ์บริติช ลอนดอน และที่บ้านของโคลด โมเนท์ ที่จิแวร์นีย์ ประเทศฝรั่ง.

คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะและทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ · คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะและภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

คะสึชิกะ โฮะกุไซ

กุไซ หรือ คะสึชิกะ โฮะกุไซ (葛飾北斎?, Hokusai หรือ Katsushika Hokusai) (ตุลาคม หรือ พฤศจิกายน ค.ศ. 1760 - 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1849Nagata) เป็นจิตรกรภาพอุกิโยะและภาพพิมพ์แกะไม้ชาวญี่ปุ่นของสมัยเอะโดะของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมจีน โฮะกุไซเกิดที่เอะโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) งานที่มีชื่อเสียงของโฮะกุไซที่เป็นที่รู้จักกันดีคือภาพพิมพ์แกะไม้ชุด “ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ” (富嶽三十六景) ที่รวมภาพ “คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ” ซึ่งเป็นภาพสัญลักษณะอันเป็นที่รู้จักกันดีไปทั่วโลกที่เขียนในคริสต์ทศวรรษ 1820 โฮะกุไซ “ทัศนียภาพ 36 มุม” เพื่อเป็นทั้งการตอบสนองความต้องการของกิจการท่องเที่ยวภายในประเทศที่ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว และความหลงใหลส่วนตัวในการวาดภาพภูเขาฟู.

คะสึชิกะ โฮะกุไซและทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ · คะสึชิกะ โฮะกุไซและภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิและภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น

ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น มี 24 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 15.15% = 5 / (9 + 24)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิและภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่น หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »