ทักษิณาวรรตและบริเวณความกดอากาศต่ำ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ทักษิณาวรรตและบริเวณความกดอากาศต่ำ
ทักษิณาวรรต vs. บริเวณความกดอากาศต่ำ
ทักษิณาวรรต หมายถึงการเวียนขวา, วนรอบไปทางขวา, หรือเดินเลี้ยวขวาไปรอบๆสิ่งๆหนึ่ง กล่าวคือ เป็นการเดินวนไปข้างหน้าในขณะที่แขนขวาหรือร่างกายทางด้านขวาหันเข้าหาจุดศูนย์กลางหรือแกนกลาง จึงเท่ากับเป็นการเวียนตามเข็มนาฬิกา (clockwise) อีกนัยหนึ่งคือ เป็นการเดินเลี้ยวขวาไปตลอดเวลาอย่างเข็มนาฬิกา คำ "ทักษิณาวรรต" เป็นคำผสมระหว่างคำว่าทักษิณที่หมายความถึงมือขวา ด้านขวา หรือใช้เรียกทิศที่ตั้งอยู่ทางด้านขวามือคือทิศใต้ รวมกับคำว่าอาวรรต ที่มีความหมายถึงการเวียนเป็นวงกลม เป็นคำว่า "ทักษิณาวรรต", ทักขิณาวัฏ ก็ว่า ใช้ร่วมกับคำกิริยาและการกระทำ ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง การเวียนขวา เวียนไปทางขวา คำทักษิณาวรรต ตรงข้ามกับคำว่า อุตราวรรตหรืออุตราวัฏ คือการเดินเวียนซ้าย, วนเลี้ยวซ้ายไปตลอด, เดินทวนเข็มนาฬิกา (counterclockwise) คำ "ทักษิณาวรรต" นี้ มักใช้บ่อยในขนบธรรมเนียมประเพณีและคติความเชื่อของผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธว่า การเดินทักษิณาวรรต หรือเวียนขวา 3 รอบสิ่งของหรือบุคคลใดก็ตามแต่ ถือเป็นบุญบารมีและสิ่งมงคลชีวิตเป็นอย่างมาก การเวียนขวา 3 รอบตามคติความเชื่อนั้น ชาวอินเดียในสมัยโบราณเชื่อกันว่า ถ้าหากเดินเวียนขวารอบสิ่งของครบทั้ง 3 รอบ จะเท่ากับเดินเวียนรอบพระรัตนตรัยทั้ง 3 คือพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ แต่ถ้าหากเดินเวียนรอบบุคคล นอกจากผู้เวียนจะได้รับบุญบารมีและสิ่งมงคลแก่ชีวิตแล้ว ตัวผู้ถูกเวียนก็จะได้ร่วมรับบุญและความเป็นสิริมงคลจากการเดินเวียนขวาเช่นกัน ต่อมาภายหลังคติความเชื่อแบบทักษิณาวรรตของชาวอินเดียโบราณ ได้แพร่หลายเข้ามาในประเทศไทย ทำให้เกิดการเดินเวียนรอบพุทธศาสนสถานเช่น เจดีย์ พระปรางค์ พระอุโบสถ พระพุทธรูป ฯลฯ แทนการเดินเวียนรอบบุคคลของชาวอินเดีย ซึ่งนอกจากจะหมายความถึงการเวียนเป็นรูปวงกลมทางด้านขวาแล้ว ทักษิณาวรรตยังหมายถึงหอยสังข์ ที่ใช้ในการประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอีกด้ว. การหมุนทวนเข็มนาฬิกาของบริเวณความกดอากาศต่ำในซีกโลกเหนือ บริเวณเหนือประเทศไอซ์แลนด์ การหมุนตามเข็มนาฬิกาของบริเวณความกดอากาศต่ำในซีกโลกใต้(ในภาพเป็นบริเวณทางใต้ของประเทศออสเตรเลีย) บริเวณจุดศูนย์กลางมักจะเป็นบริเวณที่มีค่าความกดอากาศต่ำสุด บริเวณความกดอากาศต่ำ หรือ หย่อมความกดอากาศต่ำ (Low-pressure area) คือ บริเวณที่มีค่าความกดอากาศต่ำจากการเปรียบเทียบกับบริเวณรอบโดยรอบ การเกิดความกดอากาศต่ำ เกิดจากการที่มวลของอากาศได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ มวลอากาศจะยกตัวสูงขึ้นทำให้ความกดอากาศบริเวณนั้นมีค่าลดลง เมื่อมวลอากาศที่ลอยตัวขึ้นเนี่องจากความร้อนเย็นตัวลงด้านบนทำให้เกิดเป็นเมฆขึ้น โดยทั่วไปท้องฟ้าบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำจะมีเมฆปกคลุม ผลคือทำให้อุณหภูมิของพื้นที่นั้นลดลงจากการสะท้อนแสงและคลื่นที่มาจากดวงอาทิตย์ในช่วงเวลากลางวัน ในยุโรปการเรียกชื่อบริเวณความกดอากาศต่ำจะใช้ชื่อเรียกว่า "ดีเปรสชั่น" (depression).
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทักษิณาวรรตและบริเวณความกดอากาศต่ำ
ทักษิณาวรรตและบริเวณความกดอากาศต่ำ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ทักษิณาวรรตและบริเวณความกดอากาศต่ำ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทักษิณาวรรตและบริเวณความกดอากาศต่ำ
การเปรียบเทียบระหว่าง ทักษิณาวรรตและบริเวณความกดอากาศต่ำ
ทักษิณาวรรต มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ บริเวณความกดอากาศต่ำ มี 1 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (12 + 1)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทักษิณาวรรตและบริเวณความกดอากาศต่ำ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: