โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทะเลเคลติกและปลาซาร์ดีนยุโรป

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทะเลเคลติกและปลาซาร์ดีนยุโรป

ทะเลเคลติก vs. ปลาซาร์ดีนยุโรป

แผนที่บริเวณทะเลเคลติก, มหาสมุทรแอตแลนติก และบริเวณใกล้เคียง ทะเลเคลติก (Celtic Sea; An Mhuir Cheilteach; Y Môr Celtaidd; An Mor Keltek; Ar Mor Keltiek; La mer Celtique) เป็นบริเวณพื้นที่มหาสมุทรแอตแลนติก ทางตอนใต้ของชายฝั่งไอร์แลนด์ไปทางทิศตะวันออกจรดช่องแคบเซ็นต์จอร์จ ช่องแคบบริสตอล ช่องแคบอังกฤษ และอ่าวบิสเคย์ พื้นที่ชายฝั่งส่วนหนึ่งอยู่ในเขตของเวลส์ มณฑลคอร์นวอลล์, เดวอนของอังกฤษ และบริททานีของฝรั่งเศส ทางทิตใต้และทิศตะวันตกจรดแนวไหล่ทวีป. ปลาซาร์ดีนยุโรป หรือ ปลาซาร์ดีนแท้ (Sardine, European pilchard, True sardine) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sardina pilchardus อยู่ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Sardina มีรูปร่างเพรียวยาวทรงกระบอก ลำตัวกลม แต่ในขณะที่เป็นปลาวัยอ่อน ลำตัวจะแบนเป็นสันบริเวณส่วนท้องมากกว่านี้ ตาโต ครีบหลังมีเพียงตอนเดียว ไม่มีก้านครีบแข็ง มีก้านครีบอ่อนประมาณ 13–21 ก้าน ครีบก้นมี 2 ครีบขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเงิน ลำตัวด้านข้างช่วงบนมีแต้มวงกลมสีน้ำเงินอมม่วง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 27 เซนติเมตร มีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นฝูงใหญ่ กินแพลงก์ตอนสัตว์และครัสเตเชียนชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร อาศัยและหากินใกล้ชายฝั่งในมหาสมุทรแอตแลนติก เฉพาะในทวีปยุโรป ตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงทะเลดำ และแอฟริกาเหนือ โดยหากินในเวลากลางคืน ในระดับความลึกตั้งแต่ 55–100 เมตร และอาจเพิ่มขึ้นในระดับ 10–35 เมตรได้ในแต่ละวัน เป็นปลาที่วางไข่และตัวอ่อนพัฒนาในแหล่งน้ำจืดหรือใกล้ชายฝั่ง โดยไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ย 1.5 มิลลิเมตร วางไข่ได้มากถึงครั้งละ 50,000–60,000 ฟอง ผลการทดลองในที่เลี้ยง พบว่าจะวางไข่ในเวลากลางคืนในช่วงเวลา 19.00–21.00 น. (ตามเวลามาตรฐานกรีนิช) โดยอุณหภูมิของน้ำสัมพันธ์กับการฟักเป็นตัว และความแข็งแรงของลูกปลาที่เกิดมาด้วย ปลาซาร์ดีนยุโรป ถือเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญอย่างมากของยุโรปและทั่วโลก นับเป็นปลาซาร์ดีนชนิดที่รู้จักกันเป็นอย่างดี เป็นที่นิยมในการแปรรูปทำเป็นปลากระป๋อง หรือการปรุงสด เช่น การย่างหรือรมควัน ซึ่งเนื้อปลาซาร์ดีนให้คุณค่าทางอาหารมากกว่านมถึง 3 เท่า โดยเนื้อปลาจำนวน 100 กรัม ให้สารอาหารต่าง ๆ เช่น โอเมกา 3 ถึง 200 มิลลิกรัม ซึ่งเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายมนุษย์ในแต่ละสัปดาห์ นอกจากนี้แล้วยังมี ฟอสฟอรัส, ทองแดง, แม็กนีเซียม, เหล็ก, แมงกานีส, ไลโคปีน และวิตามินบี ด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทะเลเคลติกและปลาซาร์ดีนยุโรป

ทะเลเคลติกและปลาซาร์ดีนยุโรป มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).

ทะเลเคลติกและมหาสมุทรแอตแลนติก · ปลาซาร์ดีนยุโรปและมหาสมุทรแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทะเลเคลติกและปลาซาร์ดีนยุโรป

ทะเลเคลติก มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปลาซาร์ดีนยุโรป มี 42 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.00% = 1 / (8 + 42)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทะเลเคลติกและปลาซาร์ดีนยุโรป หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »