เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ทะเลทรายนามิบและปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลาง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทะเลทรายนามิบและปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลาง

ทะเลทรายนามิบ vs. ปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลาง

right ทะเลทรายนามิบ (Namib Desert) ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งประเทศนามิเบีย ทอดตัวยาวตั้งแต่ประเทศแองโกลาทางทิศเหนือทาบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกในประเทศนามิเบีย ไปสุดที่แม่น้ำออเรนจ์ตรงพรมแดนระหว่างประเทศนามิเบียกับประเทศแอฟริกาใต้ มีความยาวประมาณ 2,000 กิโลเมตร มีช่วงความกว้างตั้งแต่ 10-160 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 50,000 ตารางกิโลเมตร เป็นหนึ่งในทะเลทรายที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของโลก โดยคาดว่ามีอายุอย่างน้อย 55 ล้านปี สภาพโดยทั่วไปเวิ้งว้างและเต็มไปด้วยหมอก ทะเลทรายนามิบถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนโดยแม่น้ำควีเซบซึ่งไหลลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติกที่อ่าววอลว. อุณหภูมิของซีกโลกเหนือในช่วง 2000 ปีที่ผ่านมา ปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลาง (Medieval Warm Period (MWP) หรือ Medieval Climate Optimum) เป็นช่วงเวลาที่อากาศในบริเวณแอตแลนติกเหนือที่เกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ที่เกิดขึ้นก่อนหน้ายุคน้ำแข็งน้อย ปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลางมักจะเป็นหัวข้อที่ทำให้มีการถกกันเรื่องปรากฏการณ์โลกร้อน บางคนก็เรียกช่วงเวลานี้ว่า “ภาวะอากาศผิดปกติในยุคกลาง” (Medieval Climatic Anomaly) ที่เป็นการเน้นผลที่เกิดจากความผิดปกติของอากาศมากกว่าที่จะเป็นการกล่าวถึงความเปลี่ยนแปลงของอุณหภูม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทะเลทรายนามิบและปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลาง

ทะเลทรายนามิบและปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลาง มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).

ทะเลทรายนามิบและมหาสมุทรแอตแลนติก · ปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลางและมหาสมุทรแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทะเลทรายนามิบและปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลาง

ทะเลทรายนามิบ มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลาง มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 6.25% = 1 / (10 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทะเลทรายนามิบและปรากฏการณ์โลกร้อนในยุคกลาง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: