โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทอเลมีที่ 2และมากัสแห่งซิเรเน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทอเลมีที่ 2และมากัสแห่งซิเรเน

ทอเลมีที่ 2 vs. มากัสแห่งซิเรเน

ทอเลมีที่ 2 หรือ ทอเลมีที่ 2 ฟิลาเดลฟัส (Ptolemy II Philadelphusกรีก: ΠτολεμαῖοςΦιλάδελφος, Ptolemaios Philádelphos, 309-246 ปีก่อนคริสตกาลคริสตศักราช) เป็นพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์ทอเลมีแห่งอียิปต์เมื่อ 283-246 ปีก่อนคริสตศักราช เขาเป็นบุตรชายของผู้ก่อตั้งของราชวงศ์ทอเลมี ทอเลมีที่ 1. มากัสแห่งซิเรเน (กรีก: Μάγας ὁ Κυρηναῖος; ประสูติ 317 ปีก่อนคริสตกาล - สิ้นพระชนม์ 250 ปีก่อนคริสตกาล, ปกครองระหว่าง 276 - 250 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นขุนนางชาวกรีกจากอาณาจักรมาซิโดเนียและกษัตริย์แห่งซิเรเน เกิดจากการการอภิเษกสมรสครั้งที่สองของพระนางเบเรนิซที่ 1 กับปโตเลมีที่ 1 ทำให้พระองค์เป็นหนึ่งในสมาชิกของราชวงศ์ปโตเลมี พระองค์พยายามกู้อิสรภาพเมืองซิเรเน (ในปัจจุบันคือบริเวณประเทศลิเบีย) จากราชวงศ์ปโตเลมีของอียิปต์โบราณและกลายเป็นกษัตริย์ปกครองแห่งซิเรเนระหว่าง 276 ปีก่อนคริสตกาล ถึง 250 ปีก่อนคริสตศักร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทอเลมีที่ 2และมากัสแห่งซิเรเน

ทอเลมีที่ 2และมากัสแห่งซิเรเน มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ราชวงศ์ทอเลมีทอเลมีที่ 1เบเรนิซที่ 1

ราชวงศ์ทอเลมี

ทอเลมีที่ 1ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ทอเลมี ราชวงศ์ทอเลมี (Πτολεμαῖοι หรือ Λαγίδαι, Ptolemaic dynasty หรือ Lagids) หรือบางครั้งก็เรียกว่า ราชวงศ์ลากิดส์ ซึ่งมาจาก ลากัส ชื่อของพระราชบิดาของทอเลมีที่ 1 ราชวงศ์ทอเลมีเป็นราชวงศ์กรีก ผู้ปกครองจักรวรรดิทอเลมีในอียิปต์ระหว่างสมัยกรีก ราชวงศ์ทอเลมีรุ่งเรืองอยู่เกือบ 300 ปี จากตั้งแต่ 305 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนถึง 30 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทอเลมี หนึ่งในองครักษ์เจ็ดคนผู้รับราชการเป็นนายพลและผู้ช่วยภายใต้อเล็กซานเดอร์มหาราช ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นข้าหลวงของอียิปต์ หลังจากที่อเล็กซานเดอร์เสด็จสวรรคตในปี 323 ก่อนคริสต์ศักราช ในปี 305 ก่อนคริสต์ศักราช ทอเลมีก็ประกาศตนเป็นพระเจ้าทอเลมี และต่อมาเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “โซเตอร์” ที่แปลว่าผู้มาช่วย ต่อมาชาวอียิปต์ก็ยอมรับราชวงศ์ทอเลมีว่าเป็นราชวงศ์ที่สืบการเป็นฟาโรห์ของอียิปต์ ราชวงศ์ทอเลมีปกครองอียิปต์จนมาถูกพิชิตโดยโรมัน ในปี 30 ก่อนคริสต์ศักราช ประมุขผู้เป็นชายทุกองค์ใช้ชื่อทอเลมี ที่เป็นสตรีบางคนก็เป็นพระขนิษฐาของพระราชสวามีมักจะใช้ชื่อ “คลีโอพัตรา” หรือ “อาร์ซิโนเอ” หรือ “เบเรนิเซ” สมาชิกคนสำคัญที่สุดของราชวงศ์คือ พระราชินีองค์สุดท้ายคลีโอพัตราที่ 7 ที่เป็นที่รู้จักกันจากการมีบทบาทในความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์ และ ปอมเปย์ และต่อมาระหว่าง อ็อคเตเวียน และ มาร์ก แอนโทนี การฆ่าตัวตายคลีโอพัตราเป็นการสิ้นสุดการครองอียิปต์ของราชวงศ์ทอเลมี.

ทอเลมีที่ 2และราชวงศ์ทอเลมี · มากัสแห่งซิเรเนและราชวงศ์ทอเลมี · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมีที่ 1

ทอเลมีที่ 1 โซเตอร์ (กรีกโบราณ: ΠτολεμαῖοςΣωτήρ, Ptolemaios Soter อังกฤษ:Ptolemy I Soter) พระองค์เกิดในปี 367 ก่อนคริสตกาล - 283 ก่อนคริสตกาล เป็นชาวมาซิโดเนียและอยู่ภายใต้การนำของ อเล็กซานเดอร์มหาราช และหลังจากที่อเล็กซานเดอร์มหาราชสิ้นพระชนม์ต่อมาพระองค์กลายเป็นผู้ปกครองของอียิปต์ในปี (323-283 ก่อนคริสตกาล) และผู้ก่อตั้งอาณาจักร Ptolemaic และราชวงศ์ Ptolemaic ในปี 305/4ก่อนคริสตกาล พระองค์ได้เป็นฟาโรห์เพราะการยอมรับของประชาชนชาวอียิปต์ ทอเลมีเป็นหนึ่งในนายพลของอเล็กซานเดอร์ เป็นหนึ่งในเจ็ดองครักษ์และพระองค์ก็เป็นพระสหายสนิทกับ อเล็กซานเดอร์มหาราช ตั้งแต่ในวัยเด็ก หมวดหมู่:ราชวงศ์ทอเลมี.

ทอเลมีที่ 1และทอเลมีที่ 2 · ทอเลมีที่ 1และมากัสแห่งซิเรเน · ดูเพิ่มเติม »

เบเรนิซที่ 1

รนิซที่ 1 (กรีก: Βερενίκη; มีชีวิตอยู่ระหว่าง 340 ปีก่อนคริสตกาล - 279 หรือ 268 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นพระราชินีและพระมเหสีโดยการอภิเษกสมรสกับฟาโรห์ปโตเลมีที่ 1 โซเตอร์ โดยพระองค์มีตำแหน่งเป็นพระมเหสีพระองค์ที่สอง หลังจากพระนางยูริดิซปห่งราชวงศ์ปโตเลมีแห่งอียิปต์โบราณhttp://www.livius.org/be-bm/berenice/berenice_i.html.

ทอเลมีที่ 2และเบเรนิซที่ 1 · มากัสแห่งซิเรเนและเบเรนิซที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทอเลมีที่ 2และมากัสแห่งซิเรเน

ทอเลมีที่ 2 มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ มากัสแห่งซิเรเน มี 14 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 15.00% = 3 / (6 + 14)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทอเลมีที่ 2และมากัสแห่งซิเรเน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »