โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทองสิง ทำมะวงและสภาแห่งชาติลาว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทองสิง ทำมะวงและสภาแห่งชาติลาว

ทองสิง ทำมะวง vs. สภาแห่งชาติลาว

ทองสิง ทำมะวง (ທອງສິງ ທຳມະວົງ) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศลาว เกิดเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2487 ที่บ้านซ่อนเหนือ เมื่องเวียงทอง แขวงหัวพัน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการกรมการเมืองศูนย์กลางพรรค พรรคประชาชนปฏิวัติลาว ปีที่เข้าร่วมการปฏิวัติวันที่ 18 สิงหาคม ค.ศ. 1959 วันที่เข้าร่วมพรรคอย่างสมบูรณ์วันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1967 เป็นสมาชิกของสภาแห่งชาติลาว โดยเป็นผู้แทนราษฎรของแขวงหลวงพระบาง (เขตเลือกตั้ง 6) ดำรงตำแหน่งประธานสภาแห่งชาติระหว่าง.. แห่งชาติลาว (ສະພາແຫ່ງຊາດລາວ; The National Assembly of The Lao PDR) เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสำคัญของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวปกครองตามระบอบประชาธิปไตยประชาชน (สังคมนิยม - คอมมิวนิสต์) แบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง มีองค์กรแห่งสิทธิอำนาจสูงสุด คือ “พรรคประชาชนปฏิวัติลาว” “สภาแห่งชาติ” เป็น “องค์กรนิติบัญญัติ” และเป็นองค์กรบริหารอำนาจสูงสุด ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการต่างขึ้นตรง ได้รับแต่งตั้ง และต้องรายงานผลการปฏิบัติงานต่อสภาแห่งชาติ โดยอำนาจสูงสุดในการบริหารงานของประเทศ (อำนาจในการเลือกตั้ง) ยังเป็นของประชาชน ดังนั้นจึงเป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และ เพื่อประชาชน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทองสิง ทำมะวงและสภาแห่งชาติลาว

ทองสิง ทำมะวงและสภาแห่งชาติลาว มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พรรคประชาชนปฏิวัติลาวประเทศลาวนายกรัฐมนตรี

พรรคประชาชนปฏิวัติลาว

งานเฉลิมฉลองวันสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ครบรอบ 30 ปี วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2548 พรรคประชาชนปฏิวัติลาว (ພັກປະຊາຊົນປະຕິວັດລາວ, พักปะซาซนปะติวัดลาว; Lao People’s Revolutionary Party) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่จัดตั้งรัฐบาลในลาว มีกำเนิดจากพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนที่เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2473 จนสลายตัวไปใน พ.ศ. 2494 เพื่อเป็นเงื่อนไขให้ 3 ประเทศอินโดจีนมีพรรคเป็นของตนเอง พรรคได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2498 ใช้ชื่อว่า "พรรคประชาชนลาว" โดยเป็นองค์กรแกนนำของแนวลาวฮักซาดและขบวนการปะเทดลาว พรรคประชาชนลาวได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคประชาชนปฏิวัติลาวในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2515 หลังจากประกาศตั้งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 แล้ว เลขาธิการพรรคท่านแรกคือท่านไกสอน พมวิหาน ที่ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2498 จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2535 กองประชุมพรรคจึงได้เลือกท่านคำไต สีพันดอน เป็นประธานพรรค ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2535 - 2549 และกองประชุมใหญ่ครั้งที่ 8 ของพรรค ได้เลือกตั้งท่าน จูมมะลี ไซยะสอน เป็นเลขาธิการคณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาว และเป็นประธานประเทศคนปัจจุบัน จนถึงวันที่ 22 มกราคม..

ทองสิง ทำมะวงและพรรคประชาชนปฏิวัติลาว · พรรคประชาชนปฏิวัติลาวและสภาแห่งชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ทองสิง ทำมะวงและประเทศลาว · ประเทศลาวและสภาแห่งชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ทองสิง ทำมะวงและนายกรัฐมนตรี · นายกรัฐมนตรีและสภาแห่งชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทองสิง ทำมะวงและสภาแห่งชาติลาว

ทองสิง ทำมะวง มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ สภาแห่งชาติลาว มี 68 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 3.53% = 3 / (17 + 68)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทองสิง ทำมะวงและสภาแห่งชาติลาว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »