โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทวีปแอฟริกาและแจ็กคัล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทวีปแอฟริกาและแจ็กคัล

ทวีปแอฟริกา vs. แจ็กคัล

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley. แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของแจ็กคัลทั้ง 3 ชนิด แจ็กคัล (Jackal) เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์สุนัข (Canidae) ในสกุล Canis จำพวกหนึ่ง แจ็กคัลจะมีขนาดเล็กกว่าหมาป่า แต่มีขนาดใหญ่กว่าหมาจิ้งจอก โดยที่คำว่า "jackal" นั้น แผลงมาจากคำว่า "ชะฆาล" (شغال, shaghāl) ในภาษาเปอร์เซีย หรือคำว่า "ชาคัล" (çakal) ในภาษาตุรกี หรือมาจากคำว่า "ศฤคาล" (शृगाल, śṛgāla) ในภาษาสันสกฤต แจ็กคัลมีทั้งหมด 3 ชนิด กระจายพันธุ์ไปทั้งทวีปเอเชีย, ยุโรปบางส่วน และแอฟริกา ได้แก่ หมาจิ้งจอกทอง (Canis aureus), หมาจิ้งจอกข้างลาย (C. adustus) และหมาจิ้งจอกหลังดำ (C. mesomelas) ซึ่งชนิดแรกนั้นพบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปเอเชีย (รวมถึงในประเทศไทย), แอฟริกาตอนเหนือและบางส่วนของยุโรป ส่วนสองชนิดหลังนั้นพบเฉพาะทวีปแอฟริกาเท่านั้น นอกจากนี้แล้ว หมาป่าไคโยตี (C. latrans) ที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ บางครั้งที่ถูกเรียกว่า "อเมริกันแจ็กคัล" ด้วยเหมือนกัน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทวีปแอฟริกาและแจ็กคัล

ทวีปแอฟริกาและแจ็กคัล มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทวีปแอฟริกาและแจ็กคัล

ทวีปแอฟริกา มี 129 ความสัมพันธ์ขณะที่ แจ็กคัล มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (129 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทวีปแอฟริกาและแจ็กคัล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »