โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทวาปรยุคและพระเวท

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทวาปรยุคและพระเวท

ทวาปรยุค vs. พระเวท

ทวาปรยุค (เทวนาครี: द्वापर युग) มีอายุ 864,000 ปี บุคคลที่เกิดในยุคนี้จะเป็น"สัตตบุรุษ" คือผู้ที่มาจากสวรรค์ และบุคคลที่เป็น "อันธพาล" คือผู้ที่มาจากอบายภูมิ ในสัดส่วนที่เท่ากันคือร้อยละ 50 ต่อ 50 นับเป็นยุคที่ 3 จากยุคทั้ง 4 มีพรรณนาเอาไว้ในคัมภีร์ของฮินดู ว่าทวาปรยุค อยู่ถัดจากเตรตยุค และมีกลียุคตามมา ในปุราณะพรรณนาไว้ว่า ทวาปรยุคสิ้นสุดลงเมื่อพระกฤษณะกลับคืนสู่วิมานที่ประทับในไวกูณฐ์ ในยุคนี้โคธรรม ยืนสองขา (หากใช้สัญลักษณ์เป็นเสาหลัก ก็ว่าเหลือสองต้น) ตามความเชื่อฮินดู พระวิษณุมีผิวเหลือง พระเวทจะถูกแบ่งเป็น 4 เล่ม คือ ฤคเวท, สามเวท, ยชุรเวท และอาถรรพเวท ในยุคนี้พราหมณ์มีความรู้สอง หรือสามเวท แต่ไม่ใคร่ได้ศึกษาครบเวททั้งสี. ระเวท คัมภีร์ในศาสนาฮินดู หน้าหนึ่งจากอาถรรพเวท พระเวท (वेद) โดยทั่วไปถือว่าเป็นคัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู หากกล่าวโดยเฉพาะลงไป หมายถึง บทสวดต่างๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อของชาวอินโดอารยัน หรืออาจเรียกได้ว่าศาสนาพราหมณ์ฮินดู โดยมีการรวบรวมเป็นหมวดหมู่ในชั้นหลัง คำว่า “เวท” นั้น หมายถึง ความรู้ มาจากธาตุ “วิทฺ” (กริยา รู้) คัมภีร์พระเวท ประกอบด้วยคัมภีร์ 4 เล่ม ได้แก่ ฤคเวทใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า สามเวทใช้สำหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า ยชุรเวทว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีบูชายัญและบวงสรวงต่างๆ และ อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ นักประวัติศาสตร์จำนวนมาก ถือว่า พระเวท เป็นส่วนที่เก่าที่สุดที่เหลืออยู่ สำหรับส่วนที่ใหม่สุดของพระเวท น่าจะมีอายุราวพุทธกาล และส่วนที่เก่าสุด ราว 1,000 ปีก่อนพุทธกาล แต่นักภารตวิทยาเชื่อว่า เนื้อหาของคัมภีร์เหล่านี้น่าจะได้มีการท่องจำกันมาก่อนการบันทึกเป็นเวลานานมากแล้ว ซึ่งมีหลักฐานจากลักษณะทางภาษา และปริบททางสังคมต่าง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทวาปรยุคและพระเวท

ทวาปรยุคและพระเวท มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ยชุรเวทฤคเวทสามเวท

ยชุรเวท

รเวท (สันสกฤต ยชุรฺเวท, यजुर्वेद) เป็นหนึ่งในสี่แห่งคัมภีร์พระเวทในศาสนาพราหมณ์ฮินดู มาจากศัพท์ ยชุสฺ (บทสวดด้วยพิธีกรรม) และ เวท (ความรู้) ประมาณกันว่าประพันธ์ขึ้นเมื่อราว 1,400 - 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนหลักของคัมภีร์นี้เรียกว่า "ยชุรเวทสัมหิตา" มีคาถา หรือมันตระ ที่จำเป็นแก่การกระทำพิธีสังเวยตามความเชื่อในศาสนาสมัยพระเวท และมีการเพิ่มเติมคำอธิบายว่าด้วยการประกอบพิธีต่าง.

ทวาปรยุคและยชุรเวท · พระเวทและยชุรเวท · ดูเพิ่มเติม »

ฤคเวท

วท (ऋग्वेद, ฤคฺเวท, Rigveda) เป็นคัมภีร์เล่มแรกในวรรณคดีพระเวท แต่งขึ้นเมื่อราว 3000 ปีก่อนคริสตกาล เป็นตำราทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ประกอบไปด้วยบทสวดที่วางท่วงทำนองในการสวดไว้อย่างตายตัว กล่าวถึงบทสรรเสริญคุณ อำนาจแห่งเทวะ และประวัติการสร้างโลก รวมถึงหน้าที่ของพระพรหมผู้สร้างมนุษย์และสรรพสิ่ง ซึ่งจะใช้ในพิธีการบรวงสรวงเทพเจ้าต่างๆ ของชาวอารยัน ตามประเพณีของฮินดูแล้ว การแบ่งหมวดหมู่ของคัมภีร์พระเวทนี้ วยาส (ผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ) เป็นผู้ทำขึ้นโดยรับคำสั่งจากพระพรหมณ์ การจัดรวบรวมบทสวดในคัมภีร์ฤคเวทนี้ เรียกว่า ฤคเวทสังหิตา มีบทสวดทั้งหมด 1,028 บท เป็นหนึ่งในคัมภีร์ทั้งสี่ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งเรียกรวมกันว่า "พระเวท" และนับเป็นบทสวดที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษยชาติ เนื้อหาด้านชาติพันธุวิทยาและภูมิศาสตร์ที่ปรากฏในฤคเวทนั้น เป็นหลักฐานแสดงว่าฤคเวทนั้นมีมานานกว่า 3,000 ปีก่อนคริสตกาล.

ทวาปรยุคและฤคเวท · พระเวทและฤคเวท · ดูเพิ่มเติม »

สามเวท

มเวท (ภาษาสันสกฤต: सामवेद, sāmaveda, จากคำว่า สามานฺ "บทเพลง" + เวท "ความรู้"), เป็นคัมภีร์พระเวทอันดับที่สอง (ตามลำดับที่ถือโดยทั่วไป) ในบรรดาพระเวททั้งสี่ นับเป็นคัมภีร์ฮินดูที่สำคัญและเก่าแก่มาก เนื้อหาส่วนที่เก่าแก่ที่สุด มีอายุราว 1,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยมีความสำคัญและความเก่าแก่รองจากคัมภีร์ฤคเวท เนื้อหาประกอบด้วยรวมบทสวด (สังหิตา) และร้อยกรองอื่นๆ โดยนำมาจากฤคเวท (ยกเว้น 75 บท) เพื่อใช้เป็นบทร้องสวดเป็นทำนองตามพิธีกรรม เรียกว่า "สามคาน" สวดโดยนักบวชที่เรียกว่า "อุทคาตา" ขณะทำพิธีคั้น กรอง และผสมน้ำโสม เพื่อถวายเทพเจ้.

ทวาปรยุคและสามเวท · พระเวทและสามเวท · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทวาปรยุคและพระเวท

ทวาปรยุค มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระเวท มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 23.08% = 3 / (8 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทวาปรยุคและพระเวท หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »