ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและเอกภพที่สังเกตได้
ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและเอกภพที่สังเกตได้ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อัตราเร็วของแสง
อัตราเร็วของแสง
ปรากฏการณ์เชเรนคอฟ ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลมาจาก อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วกว่าแสงที่เดินทางในน้ำ อัตราเร็วของแสง (speed of light) ในสุญญากาศ มีนิยามว่าเท่ากับ 299,792,458 เมตรต่อวินาที (หรือ 1,080,000,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ 186,000.000 ไมล์ต่อวินาที หรือ 671,000,000 ไมล์ต่อชั่วโมง) ค่านี้เขียนแทนด้วยตัว c ซึ่งมาจากภาษาละตินคำว่า celeritas (แปลว่า อัตราเร็ว) และเรียกว่าเป็นค่าคงที่ของไอน์สไตน์ แสงเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดนั่นคือไม่ว่าผู้สังเกตจะเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง ไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่ใด ด้วยเงื่อนไขใด อัตราเร็วของแสงที่ผู้สังเกตคนนั้นวัดได้ จะเท่าเดิมเสมอ ซึ่งขัดกับความรู้สึกของคนทั่วไป แต่เป็นไปตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ของ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ สังเกตว่าอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ เป็น นิยาม ไม่ใช่ การวัด ในหน่วยเอสไอกำหนดให้ เมตร มีนิยามว่าเป็นระยะทางที่แสงเดินทางในสุญญากาศในเวลา 1/299,792,458 วินาที แสงที่เดินทางผ่านตัวกลางโปร่งแสง (คือไม่เป็นสุญญากาศ) จะมีอัตราเร็วต่ำกว่า c อัตราส่วนของ c ต่ออัตราเร็วของแสงที่เดินทางผ่านในตัวกลาง เรียกว่า ดรรชนีหักเหของตัวกลางนั้น โดยเมื่อผ่านแก้ว จะมีดรรชนีหักเห 1.5-1.9 ผ่านน้ำจะมีดรรชีนีหักเห 1.3330 ผ่านเบนซินจะมีดรรชนีหักเห 1.5012 ผ่านคาร์บอนไดซัลไฟต์จะมีดรรชนีหักเห 1.6276 ผ่านเพชรจะมีดรรชนีหักเห 2.417 ผ่านน้ำแข็งจะมีดรรชนีหักเห 1.309.
ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและอัตราเร็วของแสง · อัตราเร็วของแสงและเอกภพที่สังเกตได้ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและเอกภพที่สังเกตได้ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและเอกภพที่สังเกตได้
การเปรียบเทียบระหว่าง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและเอกภพที่สังเกตได้
ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ มี 34 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอกภพที่สังเกตได้ มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.38% = 1 / (34 + 8)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและเอกภพที่สังเกตได้ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: