ทฤษฎีกรุปและสารประกอบโคออร์ดิเนชัน
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ทฤษฎีกรุปและสารประกอบโคออร์ดิเนชัน
ทฤษฎีกรุป vs. สารประกอบโคออร์ดิเนชัน
ทฤษฎีกรุป (Group theory) เป็นการศึกษาเรื่องสมมาตรด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้โครงสร้างที่เรียกว่ากรุป ซึ่งก็คือเซตและการดำเนินการทวิภาคแบบปิดโดยสอดคล้องกับสมบัติสามข้อต่อไปนี้. '''รูป 1:''' อัลเฟรด เวอร์เนอร์ (Alfred Werner) นักเคมีชาวสวิสส์ ผู้ที่วางรากฐานวิชาเคมีโคออร์ดิเนชัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี เกี่ยวกับการศึกษาสารประกอบโคออร์ดิเนชัน สารประกอบโคออร์ดิเนชัน (Coordination Compounds) หรือสารเชิงซ้อนโคออร์ดิเนชัน (coordination complexes) หมายถึง สารประกอบที่ประกอบด้วย โคออร์ดิเนชันเอนทิตี (coordination entity) หรือ โคออร์ดิเนชันสเฟียร์ (coordination sphere) ซึ่ง โคออร์ดิเนชันเอนทิตี คือ ไอออนหรือโมเลกุลที่ประกอบด้วย อะตอมกลาง (central atom)(โดยปกติแล้วจะเป็นอะตอมของธาตุโลหะ) สร้างพันธะเชื่อมต่อกับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมรอบๆ แต่ละอะตอมหรือกลุ่มอะตอมดังกล่าวที่สร้างพันธะกับอะตอมกลางเรียกว่า ลิแกนด์ (ligand) "Nomenclature of Inorganic Chemistry (IUPAC Recommendations 2005)" (2005) p. 145 – IR-9.1.2.2 Coordination compounds and the coordination entity http://old.iupac.org/publications/books/rbook/Red_Book_2005.pdf.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทฤษฎีกรุปและสารประกอบโคออร์ดิเนชัน
ทฤษฎีกรุปและสารประกอบโคออร์ดิเนชัน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ทฤษฎีกรุปและสารประกอบโคออร์ดิเนชัน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทฤษฎีกรุปและสารประกอบโคออร์ดิเนชัน
การเปรียบเทียบระหว่าง ทฤษฎีกรุปและสารประกอบโคออร์ดิเนชัน
ทฤษฎีกรุป มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ สารประกอบโคออร์ดิเนชัน มี 37 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (3 + 37)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทฤษฎีกรุปและสารประกอบโคออร์ดิเนชัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: