ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ถนนเพชรบุรีและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร
ถนนเพชรบุรีและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร มี 26 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรุงเทพมหานครถนนบรรทัดทองถนนพญาไทถนนพระรามที่ 6ถนนพัฒนาการถนนพิษณุโลกถนนราชดำริถนนราชปรารภถนนรามคำแหงถนนวิทยุถนนสวรรคโลกถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)ถนนหลานหลวงถนนอโศก-ดินแดงถนนอโศกมนตรีถนนเพชรบุรีทางพิเศษศรีรัชทางรถไฟสายเหนือแยกยมราชแยกวิทยุ-เพชรบุรีแยกประตูน้ำแยกเพชรพระรามเขตราชเทวีเขตสวนหลวงเขตห้วยขวางเขตดุสิต
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
กรุงเทพมหานครและถนนเพชรบุรี · กรุงเทพมหานครและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนบรรทัดทอง
นาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนเพชรบุรี ซึ่งตั้งอยู่บนถนนเพชรบุรี ที่บริเวณแยกเพชรพระราม อันเป็นจุดสิ้นสุดของถนน (ภาพจากมุมมองของถนนบรรทัดทอง) ถนนบรรทัดทอง (Thanon Banthat Thong) เป็นถนนเส้นหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ 2 เขตคือ เขตปทุมวันและเขตราชเทวี.
ถนนบรรทัดทองและถนนเพชรบุรี · ถนนบรรทัดทองและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนพญาไท
นนพญาไทช่วงมาบุญครองและสี่แยกปทุมวัน ถนนพญาไท (Thanon Phaya Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกสามย่าน) ไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวังใหม่กับแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นตัดกับถนนพระรามที่ 1 (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองบางกะปิ หรือคลองแสนแสบ (ที่สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกราชเทวี) จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท โดยตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามทางรถไฟสายตะวันออก ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกพญาไท) ไปสิ้นสุดที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนพหลโยธิน.
ถนนพญาไทและถนนเพชรบุรี · ถนนพญาไทและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนพระรามที่ 6
นนพระรามที่ 6 (Thanon Rama VI) เป็นถนนสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร แยกจากถนนจรัสเมือง แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพระรามที่ 1 ที่สี่แยกพงษ์พระราม บริเวณใกล้วัดชำนิหัตถการ (วัดสามง่าม) ข้ามคลองมหานาคเข้าสู่พื้นที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกอุรุพงษ์) และทางรถไฟสายตะวันออก เข้าสู่แขวงทุ่งพญาไท ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกศรีอยุธยา) ถนนราชวิถี (สี่แยกตึกชัย) ข้ามคลองสามเสน และเริ่มเลียบคลองประปาในพื้นที่แขวงพญาไท เขตพญาไท ตัดกับถนนนครไชยศรี (สามแยกโรงกรองน้ำ) ตัดกับซอยพระรามที่ 6 ซอย 34 และซอยพระรามที่ 6 ซอย 37 (สี่แยกพิบูลวัฒนา) ตัดกับถนนประดิพัทธ์ (สี่แยกประดิพัทธ์) จากนั้นไปทางทิศตะวันตก ตัดกับถนนกำแพงเพชร ทางรถไฟสายเหนือ และถนนเทอดดำริ เข้าสู่พื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต จนถึงถนนเตชะวณิช (สามแยกวัดสะพานสูง) ถนนพระรามที่ 6 เดิมชื่อ "ถนนประทัดทอง" สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คำว่า "ประทัดทอง" นั้นจากชื่อเครื่องลายครามที่มีภาพต้นประทัดทอง ภายหลังเรียกเพี้ยนเป็นบรรทัดทอง ครั้นมาถึงในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนประทัดทองตลอดทั้งสายเป็น "ถนนพระรามที่ 6" เพราะเป็นถนนที่โปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงเป็นเส้นทางไปโรงกรองน้ำประปาสามเสน และต่อไปยังสะพานพระราม 6.
ถนนพระรามที่ 6และถนนเพชรบุรี · ถนนพระรามที่ 6และรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนพัฒนาการ
นนพัฒนาการ สำหรับถนนพัฒนาการในฝั่งธนบุรี ดูที่ ถนนเทอดไท ถนนพัฒนาการ (Thanon Phatthanakan) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีระยะทางประมาณ 10.3 กิโลเมตร เป็นถนนขนาด 6 ช่องทางจราจร เริ่มจากทางแยกคลองตัน ซึ่งมีถนนเพชรบุรี ถนนรามคำแหง และถนนสุขุมวิท 71 มาบรรจบกันในพื้นที่แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง มุ่งไปทางทิศตะวันออก ตัดกับทางพิเศษฉลองรัช และซอยพัฒนาการ 25 ข้ามคลองลาวเข้าพื้นที่แขวงพัฒนาการ ตัดกับถนนศรีนครินทร์ที่ทางแยกพัฒนาการ ข้ามคลองบึงเข้าพื้นที่แขวงประเวศ เขตประเวศ จากนั้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ข้ามคลองประเวศบุรีรมย์ ตัดกับถนนอ่อนนุชที่ทางแยกต่างระดับอ่อนนุช-พัฒนาการ ไปทางทิศเดิมจนกระทั่งบรรจบถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ในพื้นที่แขวงดอกไม้ โดยมีอุโมงค์กลับรถบริเวณซอยพัฒนาการ 44 ด้ว.
ถนนพัฒนาการและถนนเพชรบุรี · ถนนพัฒนาการและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนพิษณุโลก
นนพิษณุโลก (Thanon Phitsanulok) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีระยะทางตั้งแต่ถนนสามเสน ใต้ถนนศรีอยุธยา แขวงดุสิต ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนนครราชสีมา (แยกวังแดง) วังปารุสกวัน และสวนมิสกวัน ตัดกับถนนราชดำเนินนอก (แยกสวนมิสกวัน) และถนนพระรามที่ 5 (แยกพาณิชยการ) เข้าสู่แขวงสวนจิตรลดา จากนั้นตัดกับถนนนครสวรรค์ที่แยกนางเลิ้ง (แยกสนามม้า) และเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงสวนจิตรลดากับแขวงสี่แยกมหานาคไปจนสุดถนนที่ทางรถไฟสายนครราชสีมา (ทางรถไฟสายเหนือก็เรียก) ณ แยกยมราชซึ่งเป็นหัวถนนเพชรบุรี ถนนพิษณุโลกนี้มีนามเดิมว่า "ถนนคอเสื้อ" เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น เป็นถนนในโครงการถนนอำเภอดุสิต ซึ่งทรงริเริ่มขึ้นพร้อมกับการสร้างพระราชวังดุสิตใน พ.ศ. 2441 ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นถนนพิษณุโลกเนื่องจากผ่านวังปารุสกวัน ซึ่งเป็นที่ประทับในสมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ ชื่อถนนคอเสื้อได้มาจากการเขียนลายรูปค้างคาวต่อ ๆ กันในที่แคบ จึงกลายเป็นลายกระจังหรือที่เรียกว่า "คอเสื้อ" หมายถึง ฮก (ความสุข) ซึ่งเป็นหนึ่งลักษณะมงคลของจีนสามประการ ("ฮก ลก ซิ่ว" - ความสุข ลาภยศ อายุยืนนาน).
ถนนพิษณุโลกและถนนเพชรบุรี · ถนนพิษณุโลกและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนราชดำริ
นนราชดำริ (Thanon Ratchadamri) เป็นถนนที่เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงปทุมวันกับแขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางเริ่มตั้งแต่สี่แยกศาลาแดง ถนนพระรามที่ 4 ตัดกับถนนพระรามที่ 1 ที่สี่แยกราชประสงค์ และสิ้นสุดที่สี่แยกประตูน้ำ ถนนเพชรบุรี ถนนราชดำริมีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร.
ถนนราชดำริและถนนเพชรบุรี · ถนนราชดำริและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนราชปรารภ
นนราชปรารภ ถนนราชปรารภ (Thanon Ratchaprarop) ถนนสายหนึ่งในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 1.4 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่สามเหลี่ยมดินแดง ซึ่งเป็นจุดบรรจบระหว่างถนนราชวิถีกับถนนดินแดงในท้องที่แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี มุ่งไปทางทิศใต้ ผ่านจุดตัดกับถนนรางน้ำและถนนศรีอยุธยา ไปสิ้นสุดที่แยกประตูน้ำซึ่งเป็นแยกตัดกับถนนเพชรบุรี.
ถนนราชปรารภและถนนเพชรบุรี · ถนนราชปรารภและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนรามคำแหง
นนรามคำแหง (Thanon Ramkhamhaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ.
ถนนรามคำแหงและถนนเพชรบุรี · ถนนรามคำแหงและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนวิทยุ
นนวิทยุ ถนนวิทยุ (quote เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (แยกวิทยุ) ในท้องที่แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน ตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนสารสิน (แยกสารสิน) และถนนเพลินจิต (แยกเพลินจิต) จากนั้นข้ามคลองแสนแสบเข้าสู่ท้องที่แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี และไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรบุรี (แยกวิทยุ-เพชรบุรี) ถนนวิทยุเป็นถนนที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2463 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ตัดเพื่อเชื่อมถนนเพลินจิตกับถนนพระรามที่ 4 ผ่านที่ตั้งวิทยุโทรเลข ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "ถนนวิทยุ" เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2464 เนื่องจากตัดผ่านสถานีวิทยุแห่งแรกของไทย ซึ่งพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธินทรงจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2479 ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกของสวนลุมพินี (ปัจจุบันอยู่ในบริเวณที่เคยเป็นโรงเรียนเตรียมทหาร) จึงตั้งชื่อถนนตามสถานที่ที่ตัดถนนผ่านว่าถนนวิทยุ ถนนวิทยุ นับว่าเป็นถนนสายสั้น ๆ ที่มีความยาวประมาณ 2.6 กิโลเมตร แต่เป็นถนนที่เป็นที่ตั้งของสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงศุลมากถึง 22 แห่ง นับว่ามากที่สุดในประเทศไทย อีกทั้งยังแวดล้อมไปด้วยอาคารของกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ตลอดจนโรงแรม และยังอยู่ใกล้เคียงกับศูนย์การค้าชั้นแนวหน้าหลายแห่ง อีกทั้งยังเป็นถนนที่มีความร่มรื่นด้วยทั้งสองข้างทาง รวมถึงเกาะกลางถนนมีต้นไม้ใหญ่ และยังเลียบขนานไปกับสวนลุมพินีในช่วงระหว่างแยกวิทยุกับแยกสารสิน สวนสาธารณะขนาดใหญ่และเป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของกรุงเทพมหานครและประเทศไทยอีกด้วย จึงทำให้ที่ดินแถบถนนวิทยุนี้มีมูลค่าสูงมาก.
ถนนวิทยุและถนนเพชรบุรี · ถนนวิทยุและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนสวรรคโลก
นีรถไฟจิตรลดา ถนนสวรรคโลก (Thanon Sawankhalok) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่แยกยมราช ผ่านแยกเสาวนี จุดตัดกับถนนศรีอยุธยา จากนั้นทอดผ่านแยกอุภัยเจษฎุทิศ จุดตัดกับถนนราชวิถี ทอดผ่านแยกสวรรคโลก จุดตัดกับถนนสุโขทัย และไปสิ้นสุดลงที่แยกสามเสน จุดตัดระหว่างถนนเทอดดำริและถนนนครไชยศรี เดิมมีชื่อว่า "ถนนสิ้ว" (อักษรจีน: 寿 หรือสะกด ซิ่ว) ซึ่งมีความหมายถึง "อายุยั่งยืน" อันมาจากชื่อเครื่องลายครามของจีนที่เป็นรูปผลท้อหรือต้นสน ที่เป็นที่นิยมสะสมและครอบครองกันในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และนิยมนำมาตั้งชื่อเป็นชื่อถนนหรือสถานที่ต่าง ๆ ในยุคนั้น โดยเป็นถนนที่ตัดจากสะพานยมราชไปจรดคลองสามเสน ขนานไปกับเส้นทางรถไฟ ต่อมารัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีประกาศของกระทรวงนครบาล โดยเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เป็นเสนาบดี ลงวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๖๒ ให้เปลี่ยนชื่อถนนรอบพระราชวังสวนดุสิตที่ได้ชื่อตามเครื่องลายครามจีน ๑๕ สาย หนึ่งในนั้นคือ ถนนสิ้ว ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น "ถนนสวรรคโลก" ตามพระนามของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี พระธิดาพระองค์หนึ่งในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สถานที่สำคัญที่ถนนสวรรคโลกตัดผ่าน คือ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน และสถานีรถไฟจิตรลดา อันเป็นสถานีรถไฟที่สร้างขึ้นสำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ เมื่อมีการเสด็จฯ ทางรถไฟโดยเฉพาะ รวมถึงอาจใช้เป็นสถานที่ต้อนรับพระราชอาคันตุกะในบางโอกาส มีอาคารสถานีที่สร้างด้วยสถาปัตยกรรมที่สวยงาม.
ถนนสวรรคโลกและถนนเพชรบุรี · ถนนสวรรคโลกและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)
นนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) (Thanon Sukhumvit 71 (Pridi Banomyong)) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นจากถนนสุขุมวิทที่ทางแยกสุขุมวิทในแขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา มุ่งไปทางทิศเหนือ เมื่อถึงปากซอยปรีดี พนมยงค์ 26 (พัฒนเวศม์) จึงเริ่มเป็นเส้นแบ่งพื้นที่การปกครองระหว่างแขวงพระโขนงเหนือกับแขวงคลองตันเหนือ จนกระทั่งผ่านปากซอยปรีดี พนมยงค์ 25 (เจริญมิตร) จึงเข้าแขวงคลองตันเหนือ ไปทางทิศเดิม ข้ามคลองตันเข้าพื้นที่แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง และไปสิ้นสุดที่ทางแยกคลองตัน ซึ่งเป็นจุดบรรจบระหว่างถนนเพชรบุรี ถนนพัฒนาการ และถนนรามคำแหง ถนนนี้เดิมคือซอยสุขุมวิท 71 สร้างในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปี พ.ศ. 2485-2486 เทศบาลนครกรุงเทพได้รับมอบมาจากแขวงการทางกรุงเทพ (หน่วยงานของกรมทางหลวง) เมื่อปี พ.ศ. 2503กนกวลี ชูชั.
ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)และถนนเพชรบุรี · ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)และรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนหลานหลวง
นนหลานหลวง (Thanon Lan Luang) ถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่มุ่งหน้าสู่ทิศตะวันออกเป็นเส้นตรง มีจุดเริ่มต้นที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ผ่านแยกผ่านฟ้าลีลาศ ผ่านถนนจักรพรรดิพงศ์ ที่แยกหลานหลวง จากนั้นตัดกับถนนพะเนียง และตัดกับถนนกรุงเกษมที่แยกสะพานขาว ข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่สะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์ จากนั้นตัดกับถนนลูกหลวงที่เชิงสะพาน ก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกยมราช จุดตัดกับถนนเพชรบุรีและถนนสวรรคโลก ที่เขตดุสิต รวมระยะทางทั้งสิ้น 1,550 เมตร เดิมมีชื่อเรียกว่า "ถนนสนามควาย" หรือ "ถนนสนามกระบือ" เนื่องจากเมื่อแรกสถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็นราชธานี พื้นที่บริเวณนี้ถือเป็นเขตนอกพระนคร ใช้เป็นที่สำหรับเลี้ยงควายหลวง เรียกกันในสมัยนั้นว่า "สนามควาย" ต่อมาจึงเรียกให้ไพเราะขึ้นว่า "สนามกระบือ" ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองผดุงกรุงเกษมขึ้นเป็นคูเมืองชั้นนอก เป็นเหตุให้มีการขยายอาณาเขตพระนครออกไป สนามกระบือจึงมีความเจริญขึ้น เกิดมีเส้นทางสัญจรระหว่างชุมชน จึงเกิดชื่อเรียกถนนเส้นนี้ขึ้นตามนั้น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ในราว..
ถนนหลานหลวงและถนนเพชรบุรี · ถนนหลานหลวงและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนอโศก-ดินแดง
สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินเพชรบุรี ถนนอโศก-ดินแดง (Thanon Asok – Din Daeng) เป็นถนนที่ต่อจากถนนอโศกมนตรีตั้งแต่ทางแยกอโศก-เพชรบุรี ไปจนถึงถนนดินแดงที่ทางแยกประชาสงเคราะห์ (โบสถ์แม่พระ) อยู่ในพื้นที่เขตราชเทวีและเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร และส่วนหนึ่งของถนนเส้นนี้เป็นของวงแหวนรัชดาภิเษก จากประวัติของโบสถ์แม่พระฟาติมา ถนนอโศก-ดินแดง สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2515 อโศก-ดินแดง อโศก-ดินแดง อโศก-ดินแดง.
ถนนอโศก-ดินแดงและถนนเพชรบุรี · ถนนอโศก-ดินแดงและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนอโศกมนตรี
นนอโศกมนตรีช่วงที่ตัดกับถนนรัชดาภิเษกและถนนสุขุมวิท (แยกอโศกมนตรี) ถนนอโศกมนตรี (Thanon Asok Montri) เป็นถนนสายสั้น ๆ ในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 1.3 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกอโศกมนตรีซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนสุขุมวิทกับถนนรัชดาภิเษก (ที่มุ่งหน้ามาจากเขตคลองเตย) มุ่งไปทางทิศเหนือในพื้นที่แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา ข้ามคลองแสนแสบ เข้าพื้นที่แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี ไปสิ้นสุดที่แยกอโศก-เพชรบุรีซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนเพชรบุรี ปัจจุบันถนนเส้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวงแหวนรัชดาภิเษก และตรงไปเป็นถนนอโศก-ดินแดง ถนนอโศกมนตรีเดิมมีชื่อเรียกว่า "ซอยสุขุมวิท 21 (ซอยอโศก)" และ "ถนนอโศก" โดยกรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อเป็น ถนนอโศกมนตรี เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2547 ตามข้อเสนอของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่พระอโศกมนตรี (เรียม เศวตเศรณี) ซึ่งเป็นข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้อุทิศที่ดินร่วมกับเจ้าของที่ดินรายอื่นและซื้อที่ดินที่เป็นตลาดเดิมมอบให้เทศบาลนครกรุงเทพสร้างถนนสายนี้ สถานที่สำคัญบนถนนสายนี้ มีโรงพยาบาลจักษุรัตนิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ตึกจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ อาคารสภาวิชาชีพบัญชีฯ และสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัม.
ถนนอโศกมนตรีและถนนเพชรบุรี · ถนนอโศกมนตรีและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ถนนเพชรบุรี
นนเพชรบุรีช่วงแยกประตูน้ำบริเวณหน้าห้างแพลทินัมแฟชันมอลล์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ช่วงหน้าโรงเรียนเซนต์ดอมินิก ถนนเพชรบุรี (Thanon Phetchaburi) เป็นเส้นทางจราจรสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร.
ถนนเพชรบุรีและถนนเพชรบุรี · ถนนเพชรบุรีและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ทางพิเศษศรีรัช
ทางพิเศษศรีรัช หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 (ส่วนในเมือง) เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน..
ถนนเพชรบุรีและทางพิเศษศรีรัช · ทางพิเศษศรีรัชและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
ทางรถไฟสายเหนือ
ทางรถไฟสายเหนือ หรือ ทางรถไฟสายชุมทางบ้านภาชี–เชียงใหม่ แยกออกจากทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี ผ่านจังหวัดลพบุรี จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดแพร่ (อำเภอเด่นชัย อำเภอลอง) จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน และสุดปลายทางที่สถานีรถไฟเชียงใหม่ ตำบลวัดเกต อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รวมระยะทาง 751 กิโลเมตร และที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านดารา จะมีทางแยกไปยังสถานีรถไฟสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย รวมระยะทาง 457 กิโลเมตร (นับตั้งแต่สถานีรถไฟกรุงเทพ).
ถนนเพชรบุรีและทางรถไฟสายเหนือ · ทางรถไฟสายเหนือและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร ·
แยกยมราช
แยกยมราช (Yommarat Intersection) เป็นสี่แยกในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนสวรรคโลก ถนนหลานหลวง ถนนพิษณุโลก และถนนเพชรบุรี เป็นแยกที่มีจุดตัดทางรถไฟสายเหนือ, สายตะวันออกและสายใต้และมีสะพานข้ามทางแยก ซึ่งห้ามรถจักรยานยนต์วิ่งข้าม รวมถึงยังเป็นทางขึ้นทางด่วนยมราช (บางโคล่, บางนา-ดาวคะนอง และ ดินแดง-ถนนพระราม 9 แจ้งวัฒนะ) left.
ถนนเพชรบุรีและแยกยมราช · รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครและแยกยมราช ·
แยกวิทยุ-เพชรบุรี
แยกวิทยุ-เพชรบุรี (Witthayu-Phetchaburi Junction) เป็นสามแยกถนนวิทยุบรรจบถนนเพชรบุรี ใกล้ทางลงทางด่วนเพชรบุรีของทางพิเศษเฉลิมมหานคร ในพื้นที่เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ถือว่าเป็นจุดสิ้นสุดของถนนวิทยุ เมื่อปี พ.ศ. 2533 บริเวณแยกนี้เป็นสถานที่เกิดเหตุการณ์รถบรรทุกแก๊สระเบิด ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บเป็นจำนวนมาก และเกิดเพลิงไหม้ทำให้อาคารบ้านเรือนได้รับความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง นับเป็นอุบัติเหตุที่ร้ายแรงมากที่สุดครั้งหนึ่งในรอบปี.
ถนนเพชรบุรีและแยกวิทยุ-เพชรบุรี · รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครและแยกวิทยุ-เพชรบุรี ·
แยกประตูน้ำ
แยกประตูน้ำ (Pratu Nam Intersection) เป็นสี่แยกหนึ่งในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนเพชรบุรี ถนนราชดำริ และถนนราชปรารภ ตั้งอยู่ในบริเวณย่านการค้าประตูน้ำ และใกล้กับศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ (เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์) อันเป็นย่านธุรกิจที่สำคัญแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีการจราจรพลุกพล่านตลอดทั้งวัน นอกจากนี้แล้วยังเป็นที่ตั้งของท่าประตูน้ำ อันเป็นท่าเรือโดยสารคลองแสนแสบ ที่อยู่ใต้สะพานเฉลิมโลก 55 อันเป็นสะพานข้ามคลองแสนแสบอีกด้วย โดยชื่อ "ประตูน้ำ" มาจากประตูน้ำสระปทุมวัน หรือประตูน้ำวังสระปทุม ที่อยู่ในวังสระปทุมที่อยู่ใกล้เคียง อันเป็นประตูน้ำที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงเกษตราธิการสร้างขึ้นเมื่อปี..
ถนนเพชรบุรีและแยกประตูน้ำ · รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครและแยกประตูน้ำ ·
แยกเพชรพระราม
แยกเพชรพระราม (Phet Phra Ram Junction) เป็นทางแยก ลักษณะเป็นสามแยกเชื่อมถนนบรรทัดทองเข้ากับถนนเพชรบุรี ในพื้นที่เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนเพชรบุรี อันเป็นสาขาหนึ่งของธนาคารไทยพาณิชย์ที่มีตัวอาคารที่เป็นสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ด้านข้างเป็นเรือนปั้นหยา และเป็นอาคารอนุรักษ.
ถนนเพชรบุรีและแยกเพชรพระราม · รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครและแยกเพชรพระราม ·
เขตราชเทวี
ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ถนนเพชรบุรีและเขตราชเทวี · รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครและเขตราชเทวี ·
เขตสวนหลวง
ตสวนหลวง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.
ถนนเพชรบุรีและเขตสวนหลวง · รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครและเขตสวนหลวง ·
เขตห้วยขวาง
ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ถนนเพชรบุรีและเขตห้วยขวาง · รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครและเขตห้วยขวาง ·
เขตดุสิต
ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.
ถนนเพชรบุรีและเขตดุสิต · รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครและเขตดุสิต ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ถนนเพชรบุรีและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ถนนเพชรบุรีและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร
การเปรียบเทียบระหว่าง ถนนเพชรบุรีและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร
ถนนเพชรบุรี มี 40 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร มี 317 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 26, ดัชนี Jaccard คือ 7.28% = 26 / (40 + 317)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ถนนเพชรบุรีและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: