โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9และสวนหลวง ร.9

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9และสวนหลวง ร.9

ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 vs. สวนหลวง ร.9

นนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 (Thanon Chaloem Phra Kiat Ratchakan Thi 9) เป็นถนนสายสำคัญของเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร เดิมมีชื่อเรียกว่าซอยสุขุมวิท 103 (อุดมสุข) และถนนสุขาภิบาล 1 แต่ทางกรุงเทพมหานครได้เปลี่ยนชื่อเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ประกอบกับมีสวนหลวง ร.9 ตั้งอยู่บริเวณถนนสายนี้ ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 มีระยะทางประมาณ 9.8 กิโลเมตร เป็นถนนขนาด 2-6 ช่องทางจราจร เริ่มตั้งแต่แยกศรีอุดม (จุดตัดระหว่างถนนศรีนครินทร์กับถนนอุดมสุข) ในพื้นที่แขวงหนองบอน ไปทางทิศตะวันออก เมื่อถึงปากซอยเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ซอย 18 จึงวกขึ้นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านสวนหลวง ร.9 จากนั้นข้ามคลองปลัดเปรียงเข้าพื้นที่แขวงดอกไม้ ตัดกับถนนพัฒนาการแล้วโค้งไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองสองห้องเข้าพื้นที่แขวงประเวศ ไปทางทิศเดิม จนกระทั่งถึงปากซอยเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ซอย 81 จึงตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนอ่อนนุชที่แยกประเวศ และตรงไปทางทิศเดิมจนสุดถนนที่ทางรถไฟสายตะวันออก. ในหอรัชมงคล สวนหลวง ร.9 เป็นสวนสาธารณะและสวนพฤกษศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ประมาณ 500 ไร่ อยู่ในแขวงหนองบอน เขตประเวศ ทางตะวันออกของกรุงเทพมหานคร จัดสร้างเพื่อสร้างเพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในศุภมงคลสมัยเจริญพระชนมพรรษาครบรอบ 60 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 โดยศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ เป็นประธานออกแบบงานภูมิทัศน์ ส่วนหอรัชมงคลซึ่งจัดเป็นสัญลักษณ์สำคัญของสวนหลวง ร.9 ได้รับการออกแบบโดย ม.ล.ตรีทศยุทธ เทวกุล ปัจจุบันมี หม่อมหลวงชนะพันธุ์ กฤดากร เป็นประธานคณะกรรมการบริหารสวนหลวง ร.๙.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9และสวนหลวง ร.9

ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9และสวนหลวง ร.9 มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกรุงเทพมหานครสวนหลวง ร.9เขตประเวศ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสวนหลวง ร.9 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 · กรุงเทพมหานครและสวนหลวง ร.9 · ดูเพิ่มเติม »

สวนหลวง ร.9

ในหอรัชมงคล สวนหลวง ร.9 เป็นสวนสาธารณะและสวนพฤกษศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ประมาณ 500 ไร่ อยู่ในแขวงหนองบอน เขตประเวศ ทางตะวันออกของกรุงเทพมหานคร จัดสร้างเพื่อสร้างเพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในศุภมงคลสมัยเจริญพระชนมพรรษาครบรอบ 60 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 โดยศาสตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ เป็นประธานออกแบบงานภูมิทัศน์ ส่วนหอรัชมงคลซึ่งจัดเป็นสัญลักษณ์สำคัญของสวนหลวง ร.9 ได้รับการออกแบบโดย ม.ล.ตรีทศยุทธ เทวกุล ปัจจุบันมี หม่อมหลวงชนะพันธุ์ กฤดากร เป็นประธานคณะกรรมการบริหารสวนหลวง ร.๙.

ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9และสวนหลวง ร.9 · สวนหลวง ร.9และสวนหลวง ร.9 · ดูเพิ่มเติม »

เขตประเวศ

ตประเวศ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตศรีนครินทร์ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์ชุมชนชานเมือง แหล่งงานและการบริการเพื่อรองรับท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9และเขตประเวศ · สวนหลวง ร.9และเขตประเวศ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9และสวนหลวง ร.9

ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ สวนหลวง ร.9 มี 24 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 12.90% = 4 / (7 + 24)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9และสวนหลวง ร.9 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »