โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีและเทศบาลเมืองแม่เหียะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีและเทศบาลเมืองแม่เหียะ

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี vs. เทศบาลเมืองแม่เหียะ

นนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี หรือ ถนนวงแหวนรอบกลาง หรือ ทางหลวงชนบท ชม.3029 เป็นทางหลวงสายหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ มีเส้นทางอ้อมรอบตัวเมืองเชียงใหม่จึงเป็นเสมือนถนนวงแหวนรอบที่ 2 ของเมือง ซึ่งรอบที่ 1 คือ ถนนมหิดล (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1141) และถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ลำปาง–เชียงใหม่ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11) ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี เป็นถนนคอนกรีตขนาดหกช่องจราจร ความยาวทั้งสิ้น 26.1 กิโลเมตร โดยถนนสายนี้มีการออกแบบให้เป็นทางลอดและทางแยกต่างระดับทั้งหมดเมื่อตัดกับถนนหลักสายอื่นๆ ซึ่งมีจำนวนทางลอดทั้งสิ้น 7 แห่ง และทางแยกต่างระดับ 1 แห่ง โดยมีกรมทางหลวงชนบทเป็นผู้ดูแล. ทศบาลเมืองแม่เหียะ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งในท้องที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่เหียะทั้งตำบล เมืองแม่เหียะมีแปลงทดลองและสาธิตทางการเกษตรของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นอกจากนี้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ และเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี ก็อยู่ในเมืองแม่เหียะเช่นเดียวกัน ตำบลแม่เหียะใช้เวลาเพียง 16 ปีสามารถพัฒนาจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นเป็นเทศบาลเมือง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีและเทศบาลเมืองแม่เหียะ

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีและเทศบาลเมืองแม่เหียะ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อำเภอเมืองเชียงใหม่จังหวัดเชียงใหม่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 121เทศบาลเมืองแม่เหียะ

อำเภอเมืองเชียงใหม่

มืองเชียงใหม่ (70px เมืองเจียงใหม่) เป็นศูนย์กลางการบริหาร ความเจริญศูนย์กลางธุรกิจ และวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ นับเป็นเมืองที่มีความเจริญมากที่สุดของจังหวัดและของภาคเหนือ และเป็นเมืองอันดับสองรองจากกรุงเทพมหานคร อำเภอเมืองเชียงใหม่มีเขตนครเชียงใหม่และปริมณฑลล้อมรอบ ได้แก่ เมืองลำพูน หางดง สันกำแพง สารภี แม่ริม สันทราย สันป่าตอง ฯลฯ.

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีและอำเภอเมืองเชียงใหม่ · อำเภอเมืองเชียงใหม่และเทศบาลเมืองแม่เหียะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

จังหวัดเชียงใหม่และถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี · จังหวัดเชียงใหม่และเทศบาลเมืองแม่เหียะ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 สายเชียงใหม่–แม่ฮ่องสอน หรือที่นิยมเรียกว่า ถนนเชียงใหม่-หางดง, ถนนเชียงใหม่-ฮอด หรือ ถนนเชียงใหม่-แม่สะเรียง เป็นทางหลวงสายหลักที่ใช้สำหรับเดินทางเข้าสู่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชื่อมต่อระหว่างเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อการคมนาคมระหว่างชุมชนและสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญในพื้นที่ด้านใต้ของทั้งสองจังหวัด จากจุดเริ่มต้นที่ตัวเมืองเชียงใหม่ สามารถเดินทางเข้าสู่ตัวเมืองแม่ฮ่องสอนได้ด้วยระยะทางประมาณ 350 กิโลเมตร.

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108และเทศบาลเมืองแม่เหียะ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 121

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 121 หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกเมืองเชียงใหม่ หรือ ถนนวงแหวนรอบ 3 เชียงใหม่ เป็นทางหลวงแผ่นดินในจังหวัดเชียงใหม่ มีลักษณะเป็นวงแหวนล้อมรอบอำเภอเมืองเชียงใหม่ โดยแนวเส้นทางด้านทิศตะวันออกเป็นแนวโค้งออกผ่านอำเภอต่าง ๆ ที่ล้อมอำเภอเมืองเชียงใหม่ ได้แก่ อำเภอหางดง อำเภอสารภี อำเภอสันกำแพง อำเภอดอยสะเก็ด อำเภอสันทราย และอำเภอแม่ริม ส่วนด้านทิศตะวันตกเป็นแนวตรงเลียบคูน้ำ และทิวถนนธงชัยตะวันออก เส้นทางเริ่มต้นที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 118 บริเวณเขตการปกครองระหว่างตำบลหนองควายกับตำบลสันผักหวาน อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ไปทางทิศตะวันออก ผ่านตำบลป่าแดด อำเภอเมืองเชียงใหม่ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร แล้วเข้าเขตอำเภอสารภี ผ่านตำบลท่าวังตาล ตำบลหนองผึ้ง ตำบลไชยสถาน และตำบลป่าบง แล้วเข้าเขตอำเภอสันกำแพง ผ่านตำบลสันกลาง และตำบลต้นเปา เข้าเขตตำบลสันปูเลย อำเภอดอยสะเก็ด แล้วเข้าเขตอำเภอสันทราย ผ่านตำบลสันพระเนตร ตำบลสันทรายน้อย ตำบลหนองจ๊อม แล้วผ่านอำเภอเมืองเชียงใหม่อีกครั้งทางทิศเหนือที่ตำบลสันผีเสื้อ แล้วเข้าตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม แล้วเลี้ยวซ้ายเลียบคูน้ำเข้าอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นครั้งที่ 3 ผ่านตำบลช้างเผือก ตำบลสุเทพ และตำบลแม่เหียะ จากนั้นเลี้ยวซ้ายเข้าหาจุดเริ่มต้นที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 118 มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 52.957 กิโลเมตร.

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 121 · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 121และเทศบาลเมืองแม่เหียะ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองแม่เหียะ

ทศบาลเมืองแม่เหียะ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งในท้องที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่เหียะทั้งตำบล เมืองแม่เหียะมีแปลงทดลองและสาธิตทางการเกษตรของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นอกจากนี้ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ และเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี ก็อยู่ในเมืองแม่เหียะเช่นเดียวกัน ตำบลแม่เหียะใช้เวลาเพียง 16 ปีสามารถพัฒนาจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นเป็นเทศบาลเมือง.

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีและเทศบาลเมืองแม่เหียะ · เทศบาลเมืองแม่เหียะและเทศบาลเมืองแม่เหียะ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีและเทศบาลเมืองแม่เหียะ

ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ เทศบาลเมืองแม่เหียะ มี 30 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 10.64% = 5 / (17 + 30)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปีและเทศบาลเมืองแม่เหียะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »