เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ถนนรัชดาภิเษกและเขตบางซื่อ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ถนนรัชดาภิเษกและเขตบางซื่อ

ถนนรัชดาภิเษก vs. เขตบางซื่อ

นนรัชดาภิเษก (Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพร. ตบางซื่อ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ถนนรัชดาภิเษกและเขตบางซื่อ

ถนนรัชดาภิเษกและเขตบางซื่อ มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2514กรุงเทพมหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลสะพานพระราม 6สะพานพระราม 7อำเภอบางกรวยจังหวัดนนทบุรีถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีถนนประชาชื่นทางพิเศษศรีรัชทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306แม่น้ำเจ้าพระยาเขตห้วยขวางเขตดินแดง

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ถนนรัชดาภิเษกและพ.ศ. 2514 · พ.ศ. 2514และเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและถนนรัชดาภิเษก · กรุงเทพมหานครและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ถนนรัชดาภิเษกและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 6

นขนานสะพานพระราม 6 สะพานพระราม 6 (Rama VI Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเชื่อมระหว่างแขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กับแขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร.

ถนนรัชดาภิเษกและสะพานพระราม 6 · สะพานพระราม 6และเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระราม 7

นพระราม 7 (Rama VII Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมระหว่างตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี กับแขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร สะพานพระราม 7 เป็นสะพานแบบคอนกรีตอัดแรงชนิดต่อเนื่อง มีจำนวนช่องทางรถวิ่ง 6 ช่องทางจราจร ความกว้างของสะพาน 29.10 เมตร และมีความยาว 934 เมตร สร้างเสร็จและเปิดการจราจรเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535 มีนายมานะ มหาสุวีระชัย เป็นผู้อำนวยการโครงการ โดยเปิดใช้เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแทนสะพานพระราม 6 ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท.

ถนนรัชดาภิเษกและสะพานพระราม 7 · สะพานพระราม 7และเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางกรวย

งกรวย เป็นอำเภอที่มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของจังหวัดนนทบุรี และเป็นอำเภอหนึ่งที่อยู่ติดกับกรุงเทพมหานคร แต่พื้นที่ส่วนใหญ่ยังคงวิถีชีวิตแบบเรือกสวนไร่นาเอาไว้อย่างชัดเจน.

ถนนรัชดาภิเษกและอำเภอบางกรวย · อำเภอบางกรวยและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

จังหวัดนนทบุรีและถนนรัชดาภิเษก · จังหวัดนนทบุรีและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี

นนกรุงเทพฯ-นนทบุรี (Thanon Krung Thep - Nonthaburi) เป็นถนนเชื่อมระหว่างพื้นที่เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร กับอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มีระยะทางเริ่มต้นจากถนนประชาราษฎร์ สาย 2 (ทางแยกเตาปูน) ในพื้นที่แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดผ่านทางรถไฟสายใต้ เข้าพื้นที่แขวงวงศ์สว่าง จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนวงศ์สว่าง (ทางแยกวงศ์สว่าง) ข้ามคลองบางเขนเข้าสู่เขตตำบลบางเขน อำเภอเมืองนนทบุรี ข้ามคลองบางตะนาวศรีเข้าเขตตำบลตลาดขวัญ และไปสิ้นสุดที่จุดตัดระหว่างถนนสายนี้กับถนนติวานนท์และถนนนครอินทร์ (ทางแยกติวานนท์) โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนประชาราษฎร์ ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีเป็นถนนขนาด 4 ช่องทางจราจร (เกาะกลางเป็นที่ตั้งของรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม) ระยะทางรวม 5.358 กิโลเมตร ความกว้างประมาณ 25 เมตร ตัดขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นเพื่อตัดถนนเชื่อมคมนาคมกรุงเทพพระมหานครกับจังหวัดนนทบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2474 โดยมีแนวเส้นทางเริ่มจากถนนพระรามที่ 5 (แต่เมื่อก่อสร้างจริงนั้นเริ่มที่ถนนประชาราษฎร์ สาย 2) ไปถึงบริเวณเหนือวัดลานวัว ทั้งนี้เพื่อให้การจราจรทางบกระหว่างสองจังหวัดรวดเร็วยิ่งขึ้น หลังจากเมื่อปี พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลางจังหวัดนนทบุรีจากปากคลองบางซื่อลงมาตั้งที่ตำบลบางขวาง รวมทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือนจำมหันตโทษกลางขึ้นที่นั่นด้วย ในปีต่อมา (พ.ศ. 2475) พระองค์โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนสายนี้รวมกับถนนที่มาจากตัวจังหวัดนนทบุรีถึงวัดลานวัวว่า ถนนประชาราษฎร์ จนกระทั่งภายหลังได้มีการเปลี่ยนชื่อถนนช่วงทางแยกเตาปูนถึงทางแยกติวานนท์เป็น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ปัจจุบันถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีในเขตบางซื่ออยู่ในการดูแลของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร มีระยะทาง 3.617 กิโลเมตร ส่วนช่วงที่อยู่ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรีนั้นถือเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 301 สายคลองบางเขน - ติวานนท์ และเป็นเขตควบคุมของหมวดทางหลวงนนทบุรี แขวงทางหลวงนนทบุรี (หน่วยงานของกรมทางหลวง) ระยะทาง 1.741 กิโลเมตร อนึ่ง การใช้ชื่อซอยย่อยของถนนระหว่างสองพื้นที่ยังมีความแตกต่างกันอีกด้วย กล่าวคือ กรุงเทพมหานครใช้ชื่อซอยว่า "กรุงเทพ-นนทบุรี" ฝั่งขาออก (ฝั่งซอยเลขคี่) มี 24 ซอย และฝั่งขาเข้า (ฝั่งซอยเลขคู่) มี 31 ซอย ส่วนเทศบาลนครนนทบุรีจะเริ่มนับตัวเลขใหม่เมื่อเข้าเขตจังหวัดนนทบุรี โดยใช้ชื่อซอยว่า "กรุงเทพนนท์" ฝั่งขาออกมี 8 ซอย และฝั่งขาเข้ามี 7 ซอ.

ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีและถนนรัชดาภิเษก · ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประชาชื่น

นนประชาชื่น (Thanon Pracha Chuen) เป็นถนนที่สร้างเลียบฝั่งตะวันตกของคลองประปาในเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร, อำเภอเมืองนนทบุรี และอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยส่วนที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและส่วนที่ต่อจากเขตกรุงเทพมหานครจนถึงแยกคลองประปา ดูแลโดยสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร.

ถนนประชาชื่นและถนนรัชดาภิเษก · ถนนประชาชื่นและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษศรีรัช

ทางพิเศษศรีรัช หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 (ส่วนในเมือง) เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ถนนรัชดาภิเษกและทางพิเศษศรีรัช · ทางพิเศษศรีรัชและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 สายพระราม 7–บางพูน เป็นทางหลวงแผ่นดินที่ก่อสร้างเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งตะวันออก โดยเริ่มต้นตั้งแต่ในเขตกรุงเทพมหานคร บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เข้าเขตจังหวัดนนทบุรี ผ่านท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอปากเกร็ด เข้าสู่เขตจังหวัดปทุมธานี มีขนาด 6 ช่องจราจรตลอดเส้นทาง.

ถนนรัชดาภิเษกและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306และเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ถนนรัชดาภิเษกและแม่น้ำเจ้าพระยา · เขตบางซื่อและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

เขตห้วยขวาง

ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ถนนรัชดาภิเษกและเขตห้วยขวาง · เขตบางซื่อและเขตห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตดินแดง

ตดินแดง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ถนนรัชดาภิเษกและเขตดินแดง · เขตดินแดงและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ถนนรัชดาภิเษกและเขตบางซื่อ

ถนนรัชดาภิเษก มี 114 ความสัมพันธ์ขณะที่ เขตบางซื่อ มี 55 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 8.28% = 14 / (114 + 55)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ถนนรัชดาภิเษกและเขตบางซื่อ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: