โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ถนนพหลโยธินและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ถนนพหลโยธินและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

ถนนพหลโยธิน vs. รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท. รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ถนนพหลโยธินและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

ถนนพหลโยธินและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท มี 15 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรุงเทพมหานครอำเภอลำลูกกาอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิจังหวัดปทุมธานีถนนพระรามที่ 1ถนนสุขุมวิททางยกระดับอุตราภิมุขทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312เขตบางนาเขตบางเขนเขตพญาไทเขตราชเทวีเขตสายไหมเขตจตุจักรเขตดอนเมือง

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและถนนพหลโยธิน · กรุงเทพมหานครและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลำลูกกา

ลำลูกกา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี.

ถนนพหลโยธินและอำเภอลำลูกกา · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและอำเภอลำลูกกา · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เป็นอนุสาวรีย์ในกรุงเทพมหานคร โดยรอบเป็นวงเวียนอยู่กึ่งกลางระหว่างถนนพหลโยธิน ถนนราชวิถี และถนนพญาไท ตั้งอยู่ที่กิโลเมตรที่ 5.0 ถนนพหลโยธิน โดยที่ กม.

ถนนพหลโยธินและอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

จังหวัดปทุมธานีและถนนพหลโยธิน · จังหวัดปทุมธานีและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 1

นนพระรามที่ 1 ช่วงสยามสแควร์ ถนนพระรามที่ 1 (Thanon Rama I) เริ่มต้นจากถนนกรุงเกษม (สี่แยกกษัตริย์ศึก) ซึ่งต่อเนื่องมาจากถนนบำรุงเมือง บริเวณสะพานกษัตริย์ศึก (ข้ามคลองผดุงกรุงเกษม และทางรถไฟสายเหนือ) ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนรองเมือง (ทางแยกกลางสะพานกษัตริย์ศึก) ถนนพระรามที่ 6 และทางพิเศษศรีรัช (สี่แยกพงษ์พระราม) ข้ามคลองสวนหลวงและตัดกับถนนบรรทัดทอง (สี่แยกเจริญผล) ถนนพญาไท (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองอรชร (สะพานเฉลิมเผ่า 52) และตัดกับถนนอังรีดูนังต์ (สามแยกเฉลิมเผ่า) ไปสิ้นสุดที่แยกตัดถนนราชดำริ (สี่แยกราชประสงค์ ต่อเนื่องไปยังถนนเพลินจิต) อยู่ในพื้นที่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ถนนพระรามที่ 1และถนนพหลโยธิน · ถนนพระรามที่ 1และรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุขุมวิท

นนสุขุมวิท (Thanon Sukhumvit) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 สายบางนา–หาดเล็ก เป็นหนึ่งในทางหลวงแผ่นดินสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย จุดเริ่มต้นเชื่อมต่อจากถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางไปตามชายทะเลภาคตะวันออก และสิ้นสุดที่อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ติดต่อกับชายแดนจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา รวมระยะทางยาวทั้งสิ้นประมาณ 488 กิโลเมตร.

ถนนพหลโยธินและถนนสุขุมวิท · ถนนสุขุมวิทและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

ทางยกระดับอุตราภิมุข

ทางยกระดับอุตราภิมุข หรือ ดอนเมืองโทลล์เวย์ หรือที่คนทั่วไปเรียกว่า โทลล์เวย์ เป็นทางด่วนสายหนึ่งที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง และบริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จำกัด (มหาชน) โดยมีการแบ่งการบริหารจัดการทางยกระดับเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ทางยกระดับดินแดง–ดอนเมือง เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31 และเป็นทางหลวงสัมปทาน และส่วนทางยกระดับอนุสรณ์สถาน−รังสิต เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ทางยกระดับอุตราภิมุขมีแนวสายทางเริ่มจากบริเวณเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร แล้วสิ้นสุดเส้นทางที่อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี รวมระยะทางทั้งสิ้น 28.224 กิโลเมตร โดยเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ถนนพหลโยธินและทางยกระดับอุตราภิมุข · ทางยกระดับอุตราภิมุขและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312 สายสนามกีฬาธูปะเตมีย์ - คลอง 16 หรือนิยมเรียกกันว่า ถนนลำลูกกา เริ่มตั้งแต่ทางแยกออกจากถนนพหลโยธินตรงสนามกีฬาธูปะเตมีย์ (ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี) ไปทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่คลองสิบหก (ตำบลพระอาจารย์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก) บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 369 และทางหลวงชนบทหมายเลข นย.4009 รวมระยะทางประมาณ 39.2 กิโลเมตร ถนนแบ่งเป็นสามช่วง ช่วงแรกตั้งแต่แยกถนนพหลโยธิน ไปจนถึงประมาณ 500 เมตรถัดจากแยกถนนนิมิตใหม่ เป็นถนน 6 ช่องทาง มีเกาะกลางถนน ช่วงที่สองไปจนถึงประมาณ 200 เมตรถัดจากสะพานข้ามคลองสิบเป็นถนน 4 ช่องทาง ไม่มีเกาะกลางถนนหรือแผงกั้น ช่วงสุดท้ายไปจนถึงแยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3369 เป็นถนน 2 ช่องทาง ไม่มีเกาะกลางถนนหรือแผงกั้น.

ถนนพหลโยธินและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312 · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3312และรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางนา

ตบางนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร.

ถนนพหลโยธินและเขตบางนา · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและเขตบางนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางเขน

ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.

ถนนพหลโยธินและเขตบางเขน · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและเขตบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

เขตพญาไท

ตพญาไท เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ถนนพหลโยธินและเขตพญาไท · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและเขตพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

เขตราชเทวี

ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ถนนพหลโยธินและเขตราชเทวี · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและเขตราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

เขตสายไหม

ตสายไหม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในกรุงเทพมหานครตั้งแต่ปี..

ถนนพหลโยธินและเขตสายไหม · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและเขตสายไหม · ดูเพิ่มเติม »

เขตจตุจักร

ตจตุจักร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ถนนพหลโยธินและเขตจตุจักร · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและเขตจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

เขตดอนเมือง

ตดอนเมือง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย โดยมีแหล่งสถาบันราชการอยู่ทางด้านตะวันออกของพื้นที.

ถนนพหลโยธินและเขตดอนเมือง · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและเขตดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ถนนพหลโยธินและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

ถนนพหลโยธิน มี 224 ความสัมพันธ์ขณะที่ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท มี 111 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 15, ดัชนี Jaccard คือ 4.48% = 15 / (224 + 111)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ถนนพหลโยธินและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »