เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ตัวระบุวัตถุดิจิทัลและเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ตัวระบุวัตถุดิจิทัลและเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

ตัวระบุวัตถุดิจิทัล vs. เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

ตัวระบุวัตถุดิจิทัล หรือ ตัวบ่งชี้วัตถุดิจิทัล (digital object identifier: DOI) เป็นระบบสากลที่ใช้ระบุตัวเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่อยู่ของเอกสารนั้น ๆ โดยหน่วยงานชื่อ International DOI Foundation (IDF) DOI เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของ IDF ประโยชน์ของระบบ DOI คือใช้เป็นข้อความที่ใช้แสดงแทนบทความทางวิชาการ ซึ่งทุกคนสามารถใช้หมายเลขนี้ในการค้นหาเอกสารที่ต้องการนั้น ๆ ในเครือข่ายดิจิตอล. อเอสบีเอ็น มีรหัสเลข 13 ตัวในบาร์โค้ด เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (International Standard Book Number) หรือ ไอเอสบีเอ็น (ตัวย่อ: ISBN) เป็นรหัสที่กำหนดขึ้นให้ใช้กับสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือทั่วไป มีจุดมุ่งหมายให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของหนังสือแต่ละเรื่อง เพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมข้อมูลสิ่งพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ ในด้านการสั่งซื้อ การขาย การบริการ การเงิน และการนำสินค้าออกจำหน่ายไปยังสำนักพิมพ์ในประเทศต่าง ๆ ระบบ ISBN ถูกสร้างขึ้นในสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2509 โดยบริษัทผู้จัดพิมพ์และขายหนังสือ ดับเบิลยู เอช สมิธ และถูกเรียกว่า เลขมาตรฐานหนังสือ (Standard Book Numbering หรือ SBN) ต่อมา มีการนำ SBN มาใช้เป็นมาตรฐานสากล ISO 2108 ในปี พ.ศ. 2513 รหัสมาตรฐานที่คล้ายกัน หมายเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (the International Standard Serial Number หรือ ISSN) ใช้สำหรับนิตยสารที่ออกตามกำหนดเวล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตัวระบุวัตถุดิจิทัลและเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

ตัวระบุวัตถุดิจิทัลและเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ตัวระบุวัตถุดิจิทัลและเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

ตัวระบุวัตถุดิจิทัล มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวระบุวัตถุดิจิทัลและเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: