ตัวทำการและรูม่านตาขยาย
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ตัวทำการและรูม่านตาขยาย
ตัวทำการ vs. รูม่านตาขยาย
Agonists อะโกนิสต์ (agonist) เป็นสารที่เมื่อเชื่อมต่อกับ รีเซพเตอร์ (receptor)ทางชีวเคมี แล้วทำให้เกิดการกระตุ้นกลไกตอบสนองของ เซลล์ อะโกนิสต์ จะทำงานตรงข้ามกับแอนตาโกนิสต์ (antagonist)ที่เมื่อเชื่อมต่อกับ รีเซพเตอร์ แล้วจะไม่เกิดกลไกการกระตุ้น ดังนั้นเมื่อ แอนตาโกนิสต์ เชื่อมต่อกับรีเซพเตอร์แล้วอะโกนิสต์ เข้าเชื่อมอีกไม่ได้ การยับยั้งการทำงานของอะโกนิสต์จึงเกิดขึ้น อะโกนิสต์บางส่วน(partial agonist)กระตุ้นรีเซพเตอร์ เหมือนกันแต่ไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาได้เหมือน อะโกนิสต์ รีเซพเตอร์ในร่างกายมนุษย์ ก็ทำงานโดยการกระตุ้นและยับยั้งโดยสารเคมีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเช่น. รูม่านตาขยาย หรือ ม่านตาขยาย (mydriasis) คือภาวะซึ่งมีการขยายของรูม่านตา ส่วนใหญ่นิยามนี้เมื่อเป็นการขยายของรูม่านตาที่ไม่ใช่ภาวะปกติ (non-physiologic) แต่บางครั้งก็นิยามรวมถึงภาวะซึ่งอาจจะเป็นการตอบสนองปกติของรูม่านตาก็ได้ สาเหตุซึ่งไม่ใช่สาเหตุทางสรีรวิทยา (ปกติ) ของการมีม่านตาขยายอาจมาจากโรค การบาดเจ็บ หรือยาบางอย่าง ปกติแล้วรูม่านตาจะขยายเมื่ออยู่ในที่มืด และหดตัวเมื่ออยู่ในที่สว่าง เพื่อปรับแสงที่เข้าสู่ตาให้เหมาะสมกับการมองเห็น และไม่เป็นอันตรายต่อจอตา ในภาวะม่านตาขยายนี้ รูม่านตาจะขยาย แต่ม่านตาจะห.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตัวทำการและรูม่านตาขยาย
ตัวทำการและรูม่านตาขยาย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ตัวทำการและรูม่านตาขยาย มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตัวทำการและรูม่านตาขยาย
การเปรียบเทียบระหว่าง ตัวทำการและรูม่านตาขยาย
ตัวทำการ มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ รูม่านตาขยาย มี 2 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (8 + 2)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวทำการและรูม่านตาขยาย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: