โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตัวคูณลอเรนซ์และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ตัวคูณลอเรนซ์และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

ตัวคูณลอเรนซ์ vs. เครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

ตัวคูณลอเรนซ์ (Lorentz factor) เป็นตัวคูณที่ใช้ในการแปลงคำตอบจากการแปลงแบบกาลิเลียนในกรณีที่ความเร็วสูงมากๆ ให้อยู่ในขอบเขตของสัจพจน์ของไอน์สไตน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพ ซึ่งมีสมการดังนี้ \gamma \equiv \frac เมื่อ \gamma คือ ตัวคูณลอเรนซ์ (Lorentz factor) v\, คือ ความเร็วของผู้สังเกตในกรอบอ้างอิงเดียวกัน c\, คือ ความเร็วแสง สมการดังกล่าว เป็นสมการที่ได้รับการพัฒนาโดย เฮนดริก ลอเรนท์ซ (Hendrik.A.Lorentz) ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่พัฒนาทฤษฎี ที่เกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) ได้นำสมการดังกล่าวมาใช้ในการคำนวณเกี่ยวกับทฤษฎี สัมพัทธภาพพิเศษอีกด้ว. รูปเครื่องเร่งอนุภาค LHC แผนผังแสดงส่วนต่างๆ ของ LHC แผนที่แสดงขอบเขตของ LHC ''superconducting quadrupole electromagnetas'' หรือท่อตัวนำยิ่งยวดแม่เหล็กไฟฟ้าสี่ขั้ว สำหรับใช้นำอนุภาคไปสู่จุดที่กำหนดสำหรับการชน เครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ (Large Hadron Collider; LHC) คือเครื่องเร่งอนุภาคที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีเป้าหมายที่จะสร้างอนุภาคโปรตอน 7 TeV ขึ้น เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงและข้อจำกัดของทฤษฎีทางฟิสิกส์อนุภาคที่มีอยู่ในปัจจุบันอันอยู่ภายใต้กฎของแรงทั้งสี่ องค์กรวิจัยนิวเคลียร์แห่งยุโรป (European Organization for Nuclear Research) หรือ เซิร์น (Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire) เป็นผู้สร้างเครื่องนี้ขึ้นที่บริเวณเขตแดนประเทศฝรั่งเศสและสวิตเซอร์แลนด์ ใกล้กับกรุงเจนีวา เป็นท่อใต้ดินลักษณะเป็นวงแหวนขนาดความยาวเส้นรอบวง 27 กิโลเมตร เครื่อง LHC นี้ถือว่าเป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและใช้พลังงานสูงที่สุดของโลก สร้างขึ้นจากเงินทุนและการสนับสนุนรวมทั้งความร่วมมือจากนักฟิสิกส์มากกว่า 8,000 คน จาก 85 ประเทศ ในมหาวิทยาลัยและห้องทดลองทั่วโลกนับร้อยแห่ง ในระหว่างการก่อสร้าง เซิร์นเปิดโอกาสให้อาสาสมัครจากทั่วโลก ได้เข้าร่วมบริจาคการทำงานของคอมพิวเตอร์ เพื่อจำลองพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในเครื่อง LHC เพื่อช่วยในการออกแบบ และปรับแต่งระบบ ด้วยโครงการที่มีชื่อว่า LHC@home ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 โครงการนี้ดำเนินการบนระบบ Berkeley Open Infrastructure for Network Computing ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เครื่องเร่งนี้สามารถทำความเย็นลงได้ต่ำที่สุดที่ประมาณ 1.9 K (หรือ −271.25 °C) เป็นอุณหภูมิที่ทำลงไปใกล้อุณหภูมิสัมบูรณ์มากที่สุด ได้มีการทดสอบยิงอนุภาคเริ่มต้นสำเร็จแล้วในช่วงวันที่ 8-11 สิงหาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตัวคูณลอเรนซ์และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

ตัวคูณลอเรนซ์และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ตัวคูณลอเรนซ์และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

ตัวคูณลอเรนซ์ มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ เครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวคูณลอเรนซ์และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »