เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ตะกอนไหลและโลก (ดาวเคราะห์)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ตะกอนไหลและโลก (ดาวเคราะห์)

ตะกอนไหล vs. โลก (ดาวเคราะห์)

ตะกอนไหล (debris flow) เป็นการย้ายมวลแบบหนึ่งของมวลตะกอนซึ่งส่วนมากขนาดเล็กลงตั้งแต่ทรายเป็นต้นไป ลงมาตามความลาดชัน ในบางกรณีอาจเริ่มต้นด้วยการไถลตัวก่อน ดินไหลมี 2 ชนิด คือ แบบช้าอาจไหลตัวในอัตราไม่เกิน 1 เมตรต่อปี และแบบเร็วที่มีความเร็วมากกว่า 7-8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยทั่วไปดินไหลมักมีส่วนปลายเป็นรูปพัดหรือคล้ายลิ้นหรือบางครั้งมีลักษณะเป็นเส้นโค้งหลายเส้นขนานกันเหมือนการเกิดธารน้ำแข็ง ดินไหลมักเกิดตอนที่ฝนตกลงมาอย่างหนักติดต่อกันเป็นเวลานานๆ จนทำให้พื้นดินเกิดการอิ่มตัวด้วยน้ำ แต่ถ้าขนาดตะกอนมีขนาดเล็กกว่าทรายและมีปริมาณน้ำมากกว่า ลักษณะแบบนี้เป็นการเกิดตะกอนไหลที่เรียกว่าดินไหล (earth flow) หรือดินลมหอบไหล (loess flow) ทั้งดินไหลและดินหอบไหลจะเกิดในบริเวณที่มีความลาดชันสูงและมักเกิดเนื่องจากแผ่นดินไหว และถ้าหากน้ำมากกว่าและตะกอนส่วนใหญ่มีขนาดเล็กมากๆจะเรียกโคลนไหล ความหนืดของโคลนไหลขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำ ในบริเวณที่มีการระเบิดของภูเขาไฟบ่อยๆ เถ้าถ่านของภูเขไฟอาจทำให้เกิดดินไหลเรียกว่าลาฮา (lahar) มาจากภาษาอินโดนีเซีย ซึ่งหมายถึงดินไหลในบริเวณภูเขาไฟที่ประกอบด้วนเถ้าถ่านภูเขาไฟเป็นส่วนใหญ่ เกิดตอนภูเขาไฟระเบิดหรือตอนฝนตกหนักๆ และอาจเคลื่อนที่มาได้ไกล ด้วยอัตราเร็ว 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง. ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตะกอนไหลและโลก (ดาวเคราะห์)

ตะกอนไหลและโลก (ดาวเคราะห์) มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ตะกอนไหลและโลก (ดาวเคราะห์)

ตะกอนไหล มี 2 ความสัมพันธ์ขณะที่ โลก (ดาวเคราะห์) มี 351 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (2 + 351)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตะกอนไหลและโลก (ดาวเคราะห์) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: