โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตราแผ่นดินของคอสตาริกา

ดัชนี ตราแผ่นดินของคอสตาริกา

ตราแผ่นดินของคอสตาริกา (Escudo de Costa Rica) ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1848), แก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่1 เมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) และ ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964), การแก้ไขครั้งล่าสุดเมื่อ..

30 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2108พ.ศ. 2364พ.ศ. 2366พ.ศ. 2367พ.ศ. 2383พ.ศ. 2385พ.ศ. 2391พ.ศ. 2406พ.ศ. 2449พ.ศ. 2507พ.ศ. 2541กรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์ภูเขาไฟมหาสมุทรแปซิฟิกรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสกุลกาแฟสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางธงชาติคอสตาริกาทะเลแคริบเบียนตราอาร์มตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางตราแผ่นดินของสเปนตราแผ่นดินของนิการากัวตราแผ่นดินของเม็กซิโกตราแผ่นดินของเอลซัลวาดอร์ประเทศคอสตาริกาเพลงชาติคอสตาริกา2 พฤศจิกายน27 พฤศจิกายน5 พฤษภาคม

พ.ศ. 2108

ทธศักราช 2108 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2108 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2364

ทธศักราช 2364 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1821.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2364 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2366

ทธศักราช 2366 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2366 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2367

ทธศักราช 2367 ตรงกับคริสต์ศักราช 1824 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2367 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2383

ทธศักราช 2383 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1840.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2383 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2385

ทธศักราช 2385 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2385 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2391

ทธศักราช 2391 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2391 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2406

ทธศักราช 2406 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1863.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2406 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

กรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์

“กรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์” กรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์ (Cornucopia หรือ Horn of plenty; Cornu Copiae) เป็นสัญลักษณ์ของอาหารและความอุดมสมบูรณ์ที่ใช้กันมาราวห้าร้อยปีก่อนคริสต์ศักราชบางครั้งก็เรียกว่า “กรวยแห่งอมาลเธีย” (Horn of Amalthea) หรือ “กรวยแห่งการเก็บเกี่ยว” (Harvest cone) “กรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์” พบบ่อยในงานศิลปะทุกแขนงมาตั้งแต่สมัยกรีกโรมันในการใช้เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์และการให้กำเนิด ในตำนานเทพเจ้ากรีกเทพีอมาลเธีย (Amalthea) เป็นแพะผู้เลี้ยงดูซูสด้วยน้ำนมของตนเอง เมื่อเขาของอมาลเธียหักด้วยอุบัติเหตุโดยซูสขณะที่กำลังเล่นกันซึ่งทำให้อมาลเธียกลายเป็นยูนิคอร์น เทพซูสผู้รู้สึกผิดก็คืนเขาให้ เขานั้นจึงมีอำนาจเหนือธรรมชาติที่จุสิ่งใดก็ได้ที่ผู้เป็นเจ้าของต้องการ ภาพดั้งเดิมเป็นภาพเขาแพะที่เต็มไปด้วยผลไม้และดอกไม้ เทพเช่นเทพีฟอร์ชูนา (Fortuna) บางภาพจะถือกรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์ นอกจากจะเป็นสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ กรวยก็ยังเป็นสัญลักษณ์ของการให้กำเนิด อีกทฤษฎีหนึ่งก็ว่าเทพีอมาลเธียอาจจะเป็นนิมฟ์ที่ถูกขอให้มาเลี้ยงซูสเมื่อถูกซ่อนตัวจากโครเนิส อมาลเธียก็นำซูสไปซ่อนไว้ที่เขาไอไกออน (Mount Aigaion) ที่แปลว่าภูเขาแพะ ซึ่งอาจจะหมายความว่าอมาลเธียเป็นนิมฟ์ที่เป็นแพะหรือเป็นนิมฟ์ที่ดูและแพะก็ได้ ฉะนั้นเขาที่หักอาจจะเป็นเขาของอมาลเธียหรือเขาของแพะของอมาลเธียที่หักขณะที่เล่นกับซูสก็ได้ เพื่อเป็นการตอบแทนเทพซูสจึงสร้าง “กรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์” อีกทฤษฎีหนึ่งก็ว่าอมาลเธียเป็นชื่ออีกชื่อหนึ่งของกลุ่มดาวแพะทะเล การสร้างงานศิลปะในสมัยใหม่ของ “กรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์” มักจะเป็นกรวยที่สานด้วยหวายที่มีรูปร่างเหมือนเขาแพะที่บรรจุด้วยสิ่งต่างสำหรับฉลองเช่นผลไม้และผัก ในทวีปอเมริกาเหนือ “กรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์” กลายมามีความสัมพันธ์กับเทศกาลวันขอบคุณพระเจ้าและการเก็บเกี่ยว ในรัฐบริติชโคลัมเบีย “Cornucopia” เป็นชื่อของเทศกาลไวน์และอาหารประจำปีที่ฉลองกันที่วิสเลอร์ นอกจากนั้นสัญลักษณ์นี้ก็ยังปรากฏในธงและตราของรัฐไอดาโฮ, รัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐนิวเจอร์ซีย์ และในตราของประเทศโคลอมเบีย, ประเทศเปรู และประเทศเวเนซุเอลา “กรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์” ใช้ในเครื่องประดับที่เป็นสัญลักษณ์ของการมีบุตร, โชค และความอุดมสมบูรณ์ ผู้นับถือคริสต์ศาสนาบางกลุ่มก็กล่าวเตือนไม่ให้ใช้สัญลักษณ์ที่ว่านี้เพราะถือกันว่าเป็นสัญลักษณ์ของความโชคร้าย และเปรียบเทียบกับ “เขา” ที่บรรยายในพระคัมภีร์ที่หมายถึงพระเยซูเท็จ (Antichrist).

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและกรวยแห่งความอุดมสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟ

ูเขาไฟโบรโมและภูเขาไฟสิเมรุบนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ภูเขาไฟ เป็นธรณีสัณฐานที่หินหนืดปะทุผ่านขึ้นมายังพื้นผิวของดาวเคราะห์ ภูเขาไฟมักเกิดขึ้นใกล้กับแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก อย่างไรก็ตาม ยังมีภูเขาไฟที่เป็นข้อยกเว้น เรียกว่า จุดร้อนภูเขาไฟ (Volcanic Hotspot) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับภูเขาไฟ เรียกว่า วิทยาภูเขาไฟ (vulcanology หรือ volcanology).

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและภูเขาไฟ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า

รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า คือรูปสามเหลี่ยมชนิดหนึ่งที่ด้านทั้งสามมีความยาวเท่ากัน ในเรขาคณิตแบบยุคลิด รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจัดเป็นรูปหลายเหลี่ยมมุมเท่า (equiangular polygon) กล่าวคือ มุมภายในแต่ละมุมของรูปสามเหลี่ยมมีขนาดเท่ากันคือ 60° ด้วยคุณสมบัติทั้งสอง รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจึงจัดเป็นรูปหลายเหลี่ยมปรกติ (regular polygon) และเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่าเป็น รูปสามเหลี่ยมปรกติ รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่ยาวด้านละ a\,\! หน่วย จะมีส่วนสูง (altitude) เท่ากับ \fraca หน่วย และมีพื้นที่เท่ากับ \fraca^2 ตารางหน่วย รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความสมมาตรมากที่สุด คือมีสมมาตรแบบสะท้อนสามเส้น และสมมาตรแบบหมุนที่อันดับสามรอบศูนย์กลาง กรุปสมมาตรของรูปสามเหลี่ยมนี้จัดว่าเป็นกรุปการหมุนรูปของอันดับหก (dihedral group of order 6) หรือ D3 ทรงสี่หน้าปรกติ สร้างขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสี่รูป รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถพบได้ในโครงสร้างทางเรขาคณิตอื่นๆ หลายอย่าง เช่น รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากันสองวงตัดกัน โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่บนเส้นรอบวงของอีกวงหนึ่ง ทำให้เกิดส่วนโค้งขนาดเท่ากัน และสามารถแสดงได้ด้วยรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสามเหลี่ยมนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างทรงหลายหน้า ทรงตันเพลโตสามในห้าชิ้นประกอบขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า หนึ่งในนั้นคือทรงสี่หน้าปรกติ ซึ่งประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งสี่หน้า นอกจากนั้นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถนำมาเรียงติดต่อกันบนระนาบ จนเกิดเป็นรูปแบนราบสามเหลี่ยม (triangular tiling) การหารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่เกี่ยวข้องกับรูปสามเหลี่ยมใดๆ สามารถหาได้จากทฤษฎีบทสามส่วนของมอร์ลีย์ (Morley's trisector theorem) Triangle Construction Animation.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกาแฟ

''Coffea canephora''. สกุลกาแฟหรือ Coffea เป็นสกุลของพืชมีดอกซึ่งเมล็ดนำไปใช้ทำกาแฟ อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น เป็นพืชพื้นเมืองในแอฟริกาใต้และเขตร้อนของเอเชีย เป็นพืชที่มีความสำคัญทางการค้.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและสกุลกาแฟ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง

หพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง (República Federal de Centroamérica) หรือที่รู้จักกันในชื่อ สหมณฑลแห่งอเมริกากลาง (Provincias Unidas del Centro de América) ในปีแรกแห่งการก่อตั้ง เป็นชื่อของรัฐอธิปไตยแห่งหนึ่งในอดีตในทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งจัดการปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยระหว่าง..

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติคอสตาริกา

งชาติคอสตาริกา เริ่มบังคับใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 แต่จริงๆ แล้วเริ่มใช้มาตั้งแต่เมื่อคอสตาริกาประกาศแยกตัวเป็นเอกราชจากสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง (Federal Republic of Central America) ในปี พ.ศ. 2391 ออกแบบโดย ปาซิฟิกา เฟอร์นานเดซ (Pacífica Fernández) รองประธานาธิบดีของคอสตาริกา และภริยาของประธานาธิบดีโฆเซ มารีอา คาสโตร มาดริซ (José María Castro Madriz) โดยได้รับแรงบันดาลใจจากสีของธงชาติฝรั่งเศส ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบสีน้ำเงิน-ขาว-แดง-ขาว-น้ำเงิน โดยแถบกลางสีแดงนั้น กว้างกว่าแถบสีขาวและสีน้ำเงินเป็นสองเท่า ธงอย่างนี้สำหรับใช้เป็นธงเรือพลเรือน (civil ensign) เท่านั้น ถ้าเป็นธงสำหรับราชการ จะเพิ่มตราแผ่นดินในวงรีรูปไข่สีขาวไว้ที่กลางแถบสีแดงลงในธงชาติ โดยค่อนมาทางด้านติดคันธง ธงชาติคอสตาริกามีลักษณะคล้ายกับธงชาติไทย ต่างกันตรงวางตำแหน่งสีธงสลับกันเท่านั้น และแต่ละสีนั้นก็มีความหมายใกล้เคียงกัน กล่าว คือ สีแดง หมายถึง เลือดเนื้อ จิตวิญญาณ, สีขาว หมายถึง ความสงบสุข ส่วนสีน้ำเงิน หมายถึง ท้องฟ้า และ โอก.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและธงชาติคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลแคริบเบียน

แผนทีภูมิภาคอเมริกากลางและทะเลแคริบเบียน ทะเลแคริบเบียนมองจากอวกาศ (ด้านบนซ้าย) ทะเลแคริบเบียน (Caribbean Sea, หรือ; Mar Caribe) เป็นทะเลเขตร้อนในซีกโลกตะวันตก ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเม็กซิโก ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแผ่นเปลือกโลกแคริบเบียน โดยทางทิศใต้จดทวีปอเมริกาใต้ ทางทิศตะวันตกและทิศใต้จดประเทศเม็กซิโกและอเมริกากลาง และทางทิศเหนือและทิศตะวันออกจดหมู่เกาะแอนทิลลีส ได้แก่ เกาะคิวบา เกาะฮิสปันโยลา เกาะจาเมกา และเกาะเปอร์โตริโกในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีสทางทิศเหนือ ส่วนหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (เช่น เกาะแองกวิลลา เกาะดอมินีกา เกาะเซนต์ลูเซีย) อยู่ทางทิศตะวันออก พื้นที่ทั้งหมดของทะเลแคริบเบียน หมู่เกาะต่าง ๆ ในทะเลนี้ และชายฝั่งที่ติดต่อกัน รวมเรียกกันในชื่อภูมิภาคแคริบเบียน ทะเลแคริบเบียนเป็นหนึ่งในทะเลที่ใหญ่ที่สุด มีเนื้อที่ประมาณ 2,754,000 ตารางกิโลเมตร (1,063,000 ตารางไมล์) จุดที่ลึกที่สุดของทะเลนี้คือ Cayman Trough อยู่ระหว่างคิวบากับจาเมกา ที่ความลึก 7,686 เมตร (25,220 ฟุต) ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ชายฝั่งแคริบเบียนมีอ่าวอยู่หลายแห่ง เช่น อ่าวเวเนซุเอลา อ่าวดาริเอน อ่าวโมสกิโตส และอ่าวฮอนดูรั.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและทะเลแคริบเบียน · ดูเพิ่มเติม »

ตราอาร์ม

ตราแผ่นดินของหลายประเทศมีลักษณะเป็นตราอาร์ม ดังเช่นภาพตราแผ่นดินของประเทศในสหภาพยุโรป ตราอาร์ม (Coat of arms, เรียกอย่างเฉพาะเจาะจงว่า armorial achievement หรือ armorial bearings, เรียกอย่างย่อว่า arms) ในธรรมเนียมของทวีปยุโรป เป็นสัญลักษณ์ซึ่งออกแบบขึ้นสำหรับบุคคลหรือคณะบุคคล อันมีการดัดแปลงใช้ในหลายลักษณะ พัฒนามาจากตราประจำตัวของอัศวินในยุโรปสมัยโบราณเพื่อจำแนกพวกของตนออกจากพวกของศัตรู สามัญชนในยุโรปภาคพื้นทวีปอาจใช้ตราอาร์มเป็นสัญลักษณ์ได้เช่นกัน แต่เรียกชื่อชนิดตราต่างออกไปว่า Burgher arms ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ของประเทศไทย ได้ให้นิยามของคำว่า "อาร์ม" ไว้ดังนี้ ตราอาร์มนั้นต่างจากตราประทับ (seal) และตราสัญลักษณ์ (emblem) ตรงที่มีการให้คำอธิบายอย่างเป็นทางการโดยมีศัพท์เฉพาะของตนเอง ซึ่งเรียกโดยรวมในภาษาอังกฤษว่า Blazon หรือเทียบเป็นภาษาไทยว่า นิยามของตรา ในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 21 ตราอาร์มได้มีการนำไปใช้กับสถาบันต่างๆ เช่นมหาวิทยาลัย ตราของแต่ละแห่งจะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายและปกป้องสิทธิการใช้งาน การใช้ตราดังว่ามานี้ยังรวมถึงการใช้เป็นเครื่องหมายราชการประจำชาติหลายประเทศ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือใช้เป็น "ตราแผ่นดิน" นั่นเอง ศิลปะในการออกแบบ การแสดงให้ปรากฏ การอธิบาย และการบันทึกตราอาร์ม เรียกว่า heraldry อันอาจแปลเป็นภาษาไทยตามสำนวนของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้ว่า "มุทราศาสตร์".

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและตราอาร์ม · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง

ตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง, หรือที่รู้จักกันในชื่อ สหมณฑลแห่งอเมริกากลาง ได้รับการรับรองโดยรัฐสภาสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1823 ภายหลังจากที่ได้แยกตัวประกาศอิสรภาพจากสเปน.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสเปน

ตราแผ่นดินของสเปน (Coat of arms of Spain) เป็นตราอาร์มของประเทศสเปนที่ได้รับการอนุมัติให้ใช้ได้ตามกฎหมายเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1981 แทนที่ตราชั่วคราว เป็นตราที่นำมาใช้แทนตราของรัฐสเปน (ภายใต้การปกครองของจอมพลฟรันซิสโก ฟรังโก) ตราแผ่นดินปรากฏบนธงชาติสเปน.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและตราแผ่นดินของสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของนิการากัว

ตราแผ่นดินของนิการากัว ประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1823 ดวงตราแผ่นดินนี้ มีต้นแบบมาจากตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง ในระยะเวลาต่อมาได้มีการแก้ไขแบบตราแผ่นดินอยู่หลายครั้ง โดยแบบตราปัจจุบันเริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1971 (โดยแก้ไขแบบตราแผ่นดินครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 1999).

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและตราแผ่นดินของนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเม็กซิโก

ตราแผ่นดินกลางธงชาติเม็กซิโก ได้รับแรงบัลดาลใจในการออกแบบจากตำนานชาวอัซเตก เกี่ยวกับตำนานสร้างเมืองเตนอชตีตลัน (Tenochtitlán) ตามเรื่องราวที่เล่าขานกันทั่วไปกล่าวกันว่า ชาวอัซเตกได้ออกเดินทางไปทั่วบริเวณที่เป็นประเทศเม็กซิโกในปัจจุบัน เพื่อแสวงหาที่ตั้งเมืองหลวงของพวกตน ตามนิมิตที่เทพเจ้าวิตซิลโลปอชตลี (Huitzilopochtli) ผู้เป็นเทพแห่งสงครามของชาวอัซเตกระบุไว้ว่า ที่ตั้งของเมืองหลวงใหม่นั้นจะมีนกอินทรีคาบและจับอสรพิษเกาะอยู่บนต้นกระบองเพชร ซึ่งตั้งอยู่บนโขดหินกลางทะเลสาบ 200 ปีต่อมาพวกเขาจึงพบนกอินทรีตามนิมิตดังกล่าวบนเกาะเล็กๆ ในทะเลสาบเท็กโกโก้ พวกเขาจึงสร้างเมืองเตนอชตีตลันขึ้น ณ ที่นี้ ซึ่งในเวลาต่อมาคือกรุงเม็กซิโกซิตี เมืองหลวงของประเทศเม็กซิโกในปัจจุบัน แบบของตราที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ เป็นการปรับปรุงแบบตราใหม่เมื่อ พ.ศ. 2511 โดย ฟรานซิสโก เอปเปนส์ เฮลเกรา (Francisco Eppens Helguera) ภายใต้คำสั่งของประธานาธิบดีกุสตาโว ดิแอซ ออร์ดาซ (Gustavo Díaz Ordaz).

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและตราแผ่นดินของเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเอลซัลวาดอร์

ตราแผ่นดินของเอลซัลวาดอร์ ประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1823 ดวงตราแผ่นดินนี้ มีต้นแบบมาจากตราแผ่นดินของสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง ในระยะเวลาต่อมาได้มีการแก้ไขแบบตราแผ่นดินอยู่หลายครั้ง โดยแบบตราปัจจุบันเริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1912.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและตราแผ่นดินของเอลซัลวาดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอสตาริกา

อสตาริกา (Costa Rica) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคอสตาริกา (República de Costa Rica) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศนิการากัว ทางทิศเหนือ จรดประเทศปานามาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตกและทิศใต้ และจรดทะเลแคริบเบียนทางทิศตะวันออก ประเทศนี้เป็นตัวอย่างที่ดีของภูมิภาคในเรื่องการมีเสถียรภาพทางการเมือง และบางครั้งได้ชื่อว่าเป็น "สวิตเซอร์แลนด์ของอเมริกากลาง".

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและประเทศคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติคอสตาริกา

ลงชาติคอสตาริกา (Himno Nacional de Costa Rica) เป็นผลงานการประพันธ์ทำนองของมานวยล์ มารีอา กูตีเอร์เรซ (Manuel María Gutiérrez) เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1852 (พ.ศ. 2395) ทำนองโดยโคเซ มารีอา เซเลดอน เบรเนสhttp://www.teletica.com/archivo/buendia/01/fondo/himno.htm (José María Zeledón Brenes) ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1903 (พ.ศ. 2446) ได้มีการประกาศให้เพลงนี้เป็นเพลงชาติคอสตาริกาอย่างเป็นทางการ ตามคำสั่งของประธานาธิบดี โคเซ ฟีเกเรส เฟร์เรร์: (José Figueres Ferrer) เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1949 (พ.ศ. 2492).

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและเพลงชาติคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

2 พฤศจิกายน

วันที่ 2 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 306 ของปี (วันที่ 307 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 59 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและ2 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและ27 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤษภาคม

วันที่ 5 พฤษภาคม เป็นวันที่ 125 ของปี (วันที่ 126 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 240 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ตราแผ่นดินของคอสตาริกาและ5 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »