ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอัลเฟรด โยเดิลคาร์ล เดอนิทซ์ตำนานแทงข้างหลังประเทศเบลเยียมประเทศเชโกสโลวาเกีย
บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.
ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ·
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..
ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · สงครามโลกครั้งที่หนึ่งและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ·
อัลเฟรด โยเดิล
อัลเฟรด โยเซฟ เฟอร์ดินานด์ โยเดิล (Alfred Josef Ferdinand Jodl; 10 พฤษภาคม 1890 - 16 ตุลาคม 1946) เป็นนายพลเยอรมันซึ่งทำหน้าที่เป็นหัวหน้าของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการของกองบัญชาการสูงสุดแห่งเวร์มัคท์ และเป็นอาชญากรสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาได้เซ็นสัญญาการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขต่อสัมพันธมิตรจากประธานาธิบดีคาร์ล เดอนิทซ์ ในปี 1945 หลังสงคราม โยเดิลมีความผิดในข้อหาสมรู้ร่วมคิดในการกระทำอาชญากรรมต่อสันติภาพ, การวางแผนการเริ่มต้นและขับเคี่ยวสงครามรุกราน, อาชญากรรมสงคราม และก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ในการพิจารณาคดีนูเรมเบิร์ก คำสั่งหลักของเขาที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับลายเซ็นของเขาที่มีต่อคำสั่งคอมมานโดและผู้บังคับการตำรวจ พบว่ามีความผิดจริง จึงถูกตัดสินโทษให้ประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 1946 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2433 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2489 หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:อาชญากรสงครามชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอ หมวดหมู่:บุคคลในปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด.
ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและอัลเฟรด โยเดิล · อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และอัลเฟรด โยเดิล ·
คาร์ล เดอนิทซ์
ร์ล เดอนิทซ์ (Karl Dönitz; 16 กันยายน 1891 – 24 ธันวาคม 1980) เป็นจอมพลเรือชาวเยอรมันผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์กองทัพเรือสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เดอนิทซ์สืบทอดตำแหน่งประมุขแห่งรัฐเยอรมนีต่อจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เขาเริ่มอาชีพในกองทัพเรือจักรวรรดิเยอรมันก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี 1918 ขณะที่เขาบังคับการเรือดำน้ำ UB-68 เรือถูกกองทัพบริติชจมและเดอนิทซ์ถูกจับเป็นเชลย ระหว่างอยู่ในค่ายเชลยศึก เขาสรุปสิ่งที่ต่อมาเขาเรียกว่ารูเดลทักทิค ("ยุทธวิธีฝูง" หรือเรียกทั่วไปว่า "ฝูงหมาป่า") เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เขาเป็นนายทหารเรือดำน้ำอาวุโสในครีกส์มารีเนอ ในเดือนมกราคม 1943 เขาได้ยศกรอสส์อัดมีรัล (จอมพลเรือ) และสืบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือจากจอมพลเรือ เอริช แรดเดอร์ วันที่ 30 เมษายน 1945 หลังอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ถึงแก่อสัญกรรมและตามพินัยกรรมฉบับหลังสุดของฮิตเลอร์ เดอนิทซ์ถูกเสนอชื่อเป็นผู้สืบทอดประมุขแห่งรัฐจากฮิตเลอร์ ทั้งตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีและผู้บัญชาการทหารสูงสุด วันที่ 7 พฤษภาคม 1945 เขาสั่งให้อัลเฟรด โยเดิล หัวหน้าเสนาธิการของกองบัญชาการทหารสูงสุด ลงนามตราสารยอมจำนนในแรมส์ ประเทศฝรั่งเศส เดอนิทช์ยังเป็นหัวหน้ารัฐบาลเฟลนซ์บุร์กจนถูกฝ่ายสัมพันธมิตรยุบเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ที่การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก เขาถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมสงครามและตัดสินลงโทษจำคุกสิบปี หลังการปล่อยตัว เขาใช้ชีวิตเงียบ ๆ ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งใกล้ฮัมบุร์กจนเสียชีวิตในปี 1980.
คาร์ล เดอนิทซ์และตราสารยอมจำนนของเยอรมนี · คาร์ล เดอนิทซ์และอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ·
ตำนานแทงข้างหลัง
ประกอบจากไปรษณียบัตรออสเตรีย ค.ศ. 1919 เป็นภาพล้อยิวกำลังแทงทหารเยอรมันทางด้านหลังด้วยมีด การยอมจำนนถูกกล่าวโทษแก่ประชาชนที่ไม่รักชาติ พวกสังคมนิยม พวกบอลเชวิค สาธารณรัฐไวมาร์ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยิว การ์ตูนการเมืองเยอรมันฝ่ายขวา ค.ศ. 1924 เป็นภาพฟีลิพ ไชเดมันน์ (Philipp Scheidemann) นักการเมืองสังคมประชาธิปไตย ผู้ประกาศสาธารณรัฐไวมาร์และเป็นนายกรัฐมนตรีไวมาร์คนที่สอง และมัททิอัส แอร์ซแบร์เกอร์ (Matthias Erzberger) นักการเมืองต่อต้านสงครามจากพรรคกลาง ผู้ลงนามการสงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตร กำลังแทงกองทัพเยอรมันจากข้างหลัง ตำนานแทงข้างหลัง (Dolchstoßlegende, stab-in-the-back myth) เป็นแนวคิดที่เชื่อถือกันอย่างกว้างขวางในแวดวงฝ่ายขวาในเยอรมนีหลัง..
ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและตำนานแทงข้างหลัง · ตำนานแทงข้างหลังและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ·
ประเทศเบลเยียม
ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.
ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและประเทศเบลเยียม · ประเทศเบลเยียมและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ·
ประเทศเชโกสโลวาเกีย
right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.
ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและประเทศเชโกสโลวาเกีย · ประเทศเชโกสโลวาเกียและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
การเปรียบเทียบระหว่าง ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
ตราสารยอมจำนนของเยอรมนี มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ มี 187 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 3.43% = 7 / (17 + 187)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: