ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตรัย ภูมิรัตนและเครสเชนโด้
ตรัย ภูมิรัตนและเครสเชนโด้ มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรุงเทพรักเธอไปก่อนร็อกสไปซีดิสก์ประเทศไทยป็อปโซนี บีเอ็มจีโซนี่มิวสิกเอ็นเตอร์เทนเมนต์เบเกอรี่มิวสิคเลิฟอีสเครสเชนโด้
กรุงเทพ
กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.
กรุงเทพและตรัย ภูมิรัตน · กรุงเทพและเครสเชนโด้ ·
รักเธอไปก่อน
"รักเธอไปก่อน" เป็นซิงเกิลของวงดนตรีเครสเชนโด้ ประพันธ์เนื้อร้องโดย ตรัย ภูมิรัตน, เขมวัฒน์ เริงธรรม แต่งทำนองโดย นรเทพ มาแสง, เขมวัฒน์ เริงธรรม และเรียบเรียงโดย นรเทพ มาแสง โดยเป็นการเปิดตัวครั้งแรกของ เก้ง เขมวัฒน์ เริงธรรม นักร้องนำคนใหม่ หลังจากที่ นัท ชาติชาย มานิตยกุล นักร้องคนเก่าได้ออกจากวงเครสเชนโด้ไป เพลงนี้ต้องการสื่อถึงการ “ให้” โดยในเพลงคือการ “ให้ความรัก” กับคนที่เราแอบรักและไม่รู้ว่าเขาคิดยังไง แต่วันนี้สิ่งที่เราจะทำได้ก็คือการแสดงความรักจากเราให้เขาได้เห็นก่อน ซึ่งคงเป็นการเริ่มต้นที่ง่ายที่สุดสำหรับความรักบทต่อๆไป และด้วยการตีความ “ความรัก” ที่เข้าใจง่ายรวมถึงเป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้กับทุกๆคน.
ตรัย ภูมิรัตนและรักเธอไปก่อน · รักเธอไปก่อนและเครสเชนโด้ ·
ร็อก
ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.
ตรัย ภูมิรัตนและร็อก · ร็อกและเครสเชนโด้ ·
สไปซีดิสก์
ปซี่ ดิสก์ (SPICY DISC) เป็น ค่ายเพลง ในประเทศไทยก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2547 โดยมี พิชัย จิราธิวัฒน์ เป็นผู้บริหาร.
ตรัย ภูมิรัตนและสไปซีดิสก์ · สไปซีดิสก์และเครสเชนโด้ ·
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ตรัย ภูมิรัตนและประเทศไทย · ประเทศไทยและเครสเชนโด้ ·
ป็อป
นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.
ตรัย ภูมิรัตนและป็อป · ป็อปและเครสเชนโด้ ·
โซนี บีเอ็มจี
ซนี่ บีเอ็มจี มิวสิก เอนเตอร์เทนเมนต์ เกิดจากการร่วมธุรกิจกันระหว่าง โซนี่ มิวสิก ของ โซนี่ คอร์เปอเรชัน และ บีเอ็มจี มิวสิก ของบริษัท เบอร์เทลส์แมน ในสัดส่วนร้อยละ 50 ต่อ 50 เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..
ตรัย ภูมิรัตนและโซนี บีเอ็มจี · เครสเชนโด้และโซนี บีเอ็มจี ·
โซนี่มิวสิกเอ็นเตอร์เทนเมนต์
ซนี่ มิวสิค เอ็นเตอร์เทนเมนท์ หรือ โซนี่ มิวสิค เป็นหนึ่งในสี่ค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ของโลกภายใต้การควบคุมของบริษัทโซนี่ สหรัฐอเมริกา การควบรวมธุรกิจของโซนี่ที่ได้ซื้อหุ้นอีก 50% จากบริษัทเบอร์เทลสแมนในโซนี่ บีเอ็มจีที่ได้ลงทุนร่วมกันกลายเป็นของโซนี่ทั้งหมด จึงได้เปลี่ยนชื่อกลับเป็น โซนี่ มิวสิค เช่นเดิมในปลายปี พ.ศ. 2551.
ตรัย ภูมิรัตนและโซนี่มิวสิกเอ็นเตอร์เทนเมนต์ · เครสเชนโด้และโซนี่มิวสิกเอ็นเตอร์เทนเมนต์ ·
เบเกอรี่มิวสิค
กอรี่มิวสิก (Bakery Music) เป็นสังกัดค่ายเพลงที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 โดยผู้ก่อตั้งอย่าง บอย โกสิยพงษ์, กมล สุโกศล แคลปป์, สมเกียรติ อริยะชัยพาณิชย์ และ สาลินี ปันยารชุน มีผลงานอัลบั้มแรกของค่ายอย่าง โมเดิร์นด็อก ที่ได้รับความสำเร็จอย่างสูงในฐานะค่ายเพลงแห่งใหม่ ศิลปินที่มีชื่อเสียงของค่าย ได้แก่ โมเดิร์นด็อก, บอย โกสิยพงษ์, โจอี้ บอย, กรู๊ฟไรเดอร์สและอีกมากมาย เคยประสบกับภาวะการขาดทุนระยะหนึ่งก่อนจะถูกควบรวมเข้ากับค่ายเพลงสากลอย่าง บีเอ็มจี และกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของค่ายเพลง โซนี่ มิวสิก ในปัจจุบัน.
ตรัย ภูมิรัตนและเบเกอรี่มิวสิค · เครสเชนโด้และเบเกอรี่มิวสิค ·
เลิฟอีส
ลโก้ดั้งเดิมของบริษัท เลิฟอีส จำกัด เลิฟอีส (LOVEiS) เดิมเป็นสังกัดค่ายเพลงก่อตั้งโดย บอย โกสิยพงษ์ และ กมล สุโกศล แคลปป์ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2548 ออกผลงานแรก คือ อัลบั้ม "Love Is Vol.1" รวมผลงานอัลบั้มของศิลปินหน้าเก่าและใหม่ ต่อมา กมล สุโกศล แคลปป์ ได้แยกตัวออกไป พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงภายใน ปัจจุบัน เลิฟอีส ลดสถานภาพตัวเองไปเป็นโปรดักชั่นเฮ้าส์และให้ บริษัท บีอีซี เทโร มิวสิค จำกัด เป็นผู้จัดจำหน่ายผลงาน.
ตรัย ภูมิรัตนและเลิฟอีส · เครสเชนโด้และเลิฟอีส ·
เครสเชนโด้
รสเชนโด้ (Crescendo) เป็นซูเปอร์กรุ๊ปวงหนึ่งที่เริ่มต้นจาก นรเทพ มาแสง (นอ) มือเบสจากวง "พอส" และ "ทีโบน" ที่ได้ชักชวนเพื่อนนักดนตรีฝีมือดีจากหลากหลายวง ไม่ว่าจะเป็น เอกพงศ์ เชิดธรรม (เอก) อดีตมือกลองจากวง "ซีเปีย" ธีรพงษ์ ธนานิกกุล (จั๋ง) ซึ่งเคยมีผลงานร่วมกับ "โยคีเพลย์บอย" มาก่อน พีระพัฒน์ เถรว่อง (บี) อดีตนักร้องนำจากวง "อาร์อาร์อาร์แอนด์บี" และ ชินพัฒน์ หงส์อัมพร (แชมป์) รุ่นน้องร่วมสถาบันที่มีประสบการณ์ทางดนตรีไม่น้อยเช่นกัน รวมตัวกันเป็นวงเครสเชนโด้ ซึ่งทางวงนี้ได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า เครสเชนโด้ เป็นศัพท์ทางด้านดนตรีในภาษาอิตาเลียน ที่มีความหมายว่า "ค่อยๆ ดังขึ้นเรื่อยๆ" เครสเชนโด้ออกอีพีอัลบั้มชุดแรกโดยที่ทำเองขายเอง ต่อมาจึงได้เซ็นสัญญาเป็นศิลปินกลุ่มสุดท้ายในสังกัด เบเกอรี่มิวสิก ในอัลบั้มชุดที่ 2 มีเพลงดังอย่าง "ความจริงในใจ" และ "วีนัส" ทำให้เครสเชนโด้เริ่มเป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น ต่อมาในปี..
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ตรัย ภูมิรัตนและเครสเชนโด้ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตรัย ภูมิรัตนและเครสเชนโด้
การเปรียบเทียบระหว่าง ตรัย ภูมิรัตนและเครสเชนโด้
ตรัย ภูมิรัตน มี 21 ความสัมพันธ์ขณะที่ เครสเชนโด้ มี 60 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 13.58% = 11 / (21 + 60)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตรัย ภูมิรัตนและเครสเชนโด้ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: