เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนและตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนและตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน vs. ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

ที่ตั้งของดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร (British Overseas Territories) คือดินแดน 14 ดินแดนที่อยู่ภายใต้อธิปไตยของสหราชอาณาจักร แต่ไม่ได้นับเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร. ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี หรือตราแผ่นดินของอาณานิคมในมหาสมุทรอินเดียของบริเตน (Coat of arms of the British Indian Ocean Territory) เริ่มใช้เมื่อ ค.ศ. 1990 ในการเฉลิมฉลองครบรอบ 25 ปีของการก่อตั้งเขตปกครองแห่งนี้ ลักษณะของตราประกอบด้วยโล่ซึ่งมีรูปธงชาติสหราชอาณาจักรอยู่ด้านบนสุด ตอนล่างเป็นพื้นสีน้ำเงิน มีต้นปาล์มและมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดอยู่ตรงกลางและมีรูปซีกหนึ่งของดวงอาทิตย์ปรากฏที่มุมซ้ายบนของพื้นสีน้ำเงิน เบื้องล่างสุดของภายในโล่เป็นลายคดคล้ายระลอกคลื่นสีขาว 3 เส้น หมายถึงมหาสมุทรอินเดีย สองข้างของโล่นั้นมีเต่าสองตัวประคองโล่ไว้ โดยด้ายซ้ายนั้นเป็นเต่ากระ (สีน้ำตาล) ด้านขวาเป็นเต่าตนุ (สีเขียว) อันเป็นสัตว์ประจำถิ่น เบื้องบนของโล่เป็นรูปมงกุฎสีเงินและหอคอยสีแดงชักธงประจำดินแดน รูปดังกล่าวทั้งหมดนี้ตั้งอยู่บนพื้นทรายซึ่งมีโขดหินและเปลือกหอยชนิดต่างๆ ที่เบื้องล่างของดวงตรามีแพรแถบบรรจุคำขวัญประจำดินแดนเป็นภาษาละตินว่า In tutela nostra Limuria ความหมายของคำขวัญคือ "ลีมูเรีย (Limuria) อยู่ในความครอบครองของเรา" คำว่า "ลีมูเรีย" ในที่นี้ หมายถึงทวีปที่สาบสูญซึ่งเชื่อกันว่าตั้งอยู่ในพื้นที่มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนและตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนและตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีภาษาละตินมหาสมุทรอินเดียมหาสมุทรแปซิฟิก

บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

ทางอากาศมองเห็นดีเอโกการ์ซีอา บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี (British Indian Ocean Territory) หรือ หมู่เกาะชาโกส เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งอยู่ครึ่งทางระหว่างแอฟริกากับอินโดนีเซีย อาณาเขตครอบคลุมอะทอลล์ทั้ง 6 แห่งที่เชื่อมต่อถึงกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะชาโกส มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะดีเอโกการ์ซีอา ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งของกองกำลังผสมสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริก.

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนและบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี · ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีและบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนและภาษาละติน · ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีและภาษาละติน · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรอินเดีย

มหาสมุทรอินเดีย เป็นผืนน้ำที่มีขนาดกว้างใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก กินพื้นที่ประมาณ 20% ของพื้นน้ำบนโลก ทางเหนือติดกับตอนใต้ของทวีปเอเชีย (อนุทวีปอินเดีย) ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรอาหรับและทวีปแอฟริกา ทางตะวันออกติดกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แถบทะเลอันดามัน และประเทศออสเตรเลีย ทางใต้ติดกับมหาสมุทรใต้ แยกจากมหาสมุทรแอตแลนติกที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกาบนเส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรแปซิฟิกที่เส้นเมริเดียน 147° ตะวันออก ตอนเหนือสุดของมหาสมุทรอินเดียอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย ที่บริเวณละติจูด 30° เหนือ มหาสมุทรมีความกว้างมากที่สุดอยู่ระหว่างจุดใต้สุดของแอฟริกาและออสเตรเลีย ด้วยระยะทางเกือบ 10,000 กิโลเมตร มีพื้นน้ำ 70,560,000 ตารางกิโลเมตร รวมทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย แต่ไม่รวมมหาสมุทรใต้หรือ 19.5% ของมหาสมุทรโลก มหาสมุทรอินเดียมีปริมาตรประมาณ 264,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร หรือ 19.8% ของปริมาณมหาสมุทรโลก มีความลึกเฉลี่ย 3,741 เมตร และมีความลึกสูงสุด 7,906 เมตร.

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนและมหาสมุทรอินเดีย · ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีและมหาสมุทรอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนและมหาสมุทรแปซิฟิก · ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีและมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนและตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน มี 42 ความสัมพันธ์ขณะที่ ตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 6.45% = 4 / (42 + 20)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตนและตราแผ่นดินของบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: