ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันและแบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม
ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันและแบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บิกแบงรังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล
บิกแบง
ตาม'''ทฤษฎีบิกแบง''' จักรวาลมีจุดกำเนิดมาจากสภาพที่มีความหนาแน่นสูงและร้อน และจักรวาลมีการขยายตัวอยู่ตลอดเวลา บิกแบง (Big Bang, "การระเบิดครั้งใหญ่") เป็นแบบจำลองของการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพในจักรวาลวิทยาซึ่งได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์และจากการสังเกตการณ์ที่แตกต่างกันจำนวนมาก นักวิทยาศาสตร์โดยทั่วไปใช้คำนี้กล่าวถึงแนวคิดการขยายตัวของเอกภพหลังจากสภาวะแรกเริ่มที่ทั้งร้อนและหนาแน่นอย่างมากในช่วงเวลาจำกัดระยะหนึ่งในอดีต และยังคงดำเนินการขยายตัวอยู่จนถึงในปัจจุบัน ฌอร์ฌ เลอแม็ทร์ นักวิทยาศาสตร์และพระโรมันคาทอลิก เป็นผู้เสนอแนวคิดการกำเนิดของเอกภพ ซึ่งต่อมารู้จักกันในชื่อ ทฤษฎีบิกแบง ในเบื้องแรกเขาเรียกทฤษฎีนี้ว่า สมมติฐานเกี่ยวกับอะตอมแรกเริ่ม (hypothesis of the primeval atom) อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน ทำการคำนวณแบบจำลองโดยมีกรอบการพิจารณาอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ต่อมาในปี..
ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันและบิกแบง · บิกแบงและแบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม ·
รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล
รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล (cosmic microwave background radiation; เรียกย่อว่า CMB, MBR, หรือ CMBR) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปแบบหนึ่งที่แผ่อยู่ในเอกภพ กล่าวให้เข้าใจง่าย เมื่อเรามองดูท้องฟ้าด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ห้วงอวกาศระหว่างดาวและดาราจักรต่างๆ จะไม่เป็นสีดำ แต่กลับมีการเรืองแสงน้อยๆ อยู่ที่เกือบจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยเส้นเรืองแสงนั้นไม่ได้มาจากดาวฤกษ์หรือดาราจักรใดๆ เลย เส้นเรืองแสงนี้จะเข้มที่สุดในย่านคลื่นไมโครเวฟของสเปกตรัมวิทยุ มันจึงได้ชื่อว่า รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล ส่วนที่เกี่ยวข้องกับรังสีก็เนื่องมาจากทฤษฎีซึ่งเป็นที่แพร่หลายที่อธิบายว่า การแผ่รังสีนี้เป็นสิ่งหลงเหลือจากเอกภพยุคแรกเริ่ม การตรวจวัดการแผ่รังสีพื้นหลังของจักรวาลอย่างแม่นยำมีความสำคัญมากในการศึกษาจักรวาลวิทยา เพราะแบบจำลองของเอกภพใดๆ ก็ตามจะต้องสามารถอธิบายการแผ่รังสีที่ตรวจพบนี้ได้ด้วย การค้นพบเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1965 ที่ว่ากันว่าเป็นรังสีที่แผ่ปกคลุมทั้งเอกภพ มีสเปกตรัมคล้ายกับวัตถุดำที่มีอุณหภูมิ 2.725 เคลวินในช่วงความถี่160.2 กิโลเฮิร์ตซ์ หรือคำนวณเป็นความยาวคลื่นประมาณ 1.9 มิลลิเมตรนักจักรวาลวิทยาส่วนใหญ่คิดว่าไมโครเวฟพื้นหลังนี้เป็นหลักฐานที่ดีที่สุดสำหรับการสนับสนุนทฤษฎีบิ๊กแบง อันเป็นทฤษฎีการกำเนิดเอกภพที่ได้รับความเชื่อถือมากที่สุดในปัจจุบัน.
ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันและรังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล · รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาลและแบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันและแบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันและแบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม
การเปรียบเทียบระหว่าง ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันและแบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม
ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ แบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 10.00% = 2 / (9 + 11)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันและแบบจำลองแลมบ์ดา-ซีดีเอ็ม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: