ดาวิดและศิลปะกอทิกนานาชาติ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ดาวิดและศิลปะกอทิกนานาชาติ
ดาวิด vs. ศิลปะกอทิกนานาชาติ
กษัตริย์ดาวิด หรือ พระเจ้าดาวิด (David; דָּוִד ภาษาฮีบรูมาตรฐาน: Davíd; ภาษาฮีบรูไทบีเรียน: Dāwíð; داوود or داود, Dāwūd,; หมายถึง เป็นที่รัก) (1037 - 967 ก่อนคริสต์ศักราช; ปกครองราชอาณาจักรยูดาห์และราชอาณาจักรอิสราเอล 1005 - 967 ก่อนคริสต์ศักราช) ดาวิด เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่สองของราชอาณาจักรอิสราเอล กล่าวกันว่ามีคุณธรรมและเป็นนักการทหารที่มีความสามารถ นอกจากนี้ยังเป็นนักดนตรี กวี (เชื่อกันว่าเป็นผู้เขียนเพลงสดุดีหลายเพลง) ดาวิดในวัยเด็กเป็นเพียงเด็กเลี้ยงแกะธรรมดา แต่เป็นผู้ที่พระเจ้าทรงเลือกและมีอุปนิสัยกล้าหาญไม่เกรงกลัวใคร โดยอาสาเข้าต่อสู้ตัวต่อตัวกับ โกไลแอ็ธ นักรบร่างมหึมาผู้เป็นทหารเอกของชาวฟิลิสทีน และสามารถสังหารโกไลแอ็ธลงได้ จึงมีความดีความชอบได้มารับใช้พระเจ้าซาอูล (Saul) ในฐานะนายพลและที่ปรึกษาทางทหารคนสนิท และยังเป็นเพื่อนสนิทกับ โจนาธาน ราชบุตรของซาอูล ต่อมาพระเจ้าซาอูลเกิดระแวงว่าดาวิดจะแย่งชิงราชบัลลังก์ จึงพยายามกำจัดดาวิด แต่ซาอูลและโจนาธานพ่ายแพ้เสียชีวิตในการรบ ดาวิดจึงได้รับการเจิมขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ของอิสราเอล ต่อมาพระเจ้าดาวิดทรงพิชิตเยรูซาเลมได้ และนำหีบแห่งพันธสัญญาเข้ามาประดิษฐานในเมือง แต่เนื่องจากทรงประพฤติผิดทางเพศต่อนางแบธชีบา ทำให้พระองค์ถูกพระเจ้าตำหนิติเตียนและทำให้ทรงหมดความชอบธรรมที่จะสร้างวิหารศักดิ์สิทธิ์ขึ้นในเยรูซาเลม ชาวยิวถือว่าดาวิดและกษัตริย์โซโลมอน พระราชบุตรของพระองค์ เป็นผู้ก่อตั้งประเทศอิสราเอลขึ้น ดาวิดถือเป็นต้นแบบของกษัตริย์ในอุดมคติของชาวอิสราเอล นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่า พระเมสสิยาห์ หรือพระผู้ไถ่ ที่จะมาจุติในอนาคตจะเป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากพระองค์ ชีวิตของกษัตริย์ดาวิดที่บันทึกไว้ในหนังสือซามูเอล เล่มที่ 1 ในพันธสัญญาเดิมตั้งแต่บทที่ 16 เป็นต้นไปและหนังสือพงศาวดาร ดาวิดเป็นบุคคลสำคัญในศาสนาอับราฮัม. “นักบุญแมรี แม็กดาเลนและเทวดา” จากคริสต์ศตวรรษที่ 14 จากเมืองในกลุ่มประเทศฮันเซียติคในโปแลนด์ ศิลปะกอทิกนานาชาติ (International Gothic) เป็นสมัยหนึ่งของศิลปะกอทิกที่รุ่งเรืองในบริเวณเบอร์กันดี, โบฮีเมีย, ฝรั่งเศส และทางตอนเหนือของอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และต้น15คริสต์ศตวรรษที่ จากนั้นก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตก จึงได้รับชื่อว่า “ศิลปะโกธิคนานาชาติ” โดยนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวฝรั่งเศสหลุยส์ คูราโจด์ (Louis Courajod) ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในช่วงนี้ศิลปินและงานที่เคลื่อนย้ายได้เช่นหนังสือวิจิตรมักจะเดินทางกว้างไกลไปทั่วยุโรปและนำศิลปะไปเผยแพร่ ซึ่งทำให้เป็นการลดความแตกต่างของงานศิลปะในประเทศต่างๆ ลงบ้าง บริเวณที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือทางตอนเหนือของฝรั่งเศส, ในบริเวณเบอร์กันดี, ในราชสำนักของพระจักรพรรดิแห่งอาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปราก และในอิตาลี การเสกสมรสระหว่างสองอาณาจักรเช่นการเสกสมรสของสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษกับ แอนน์แห่งโบฮีเมียก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยเผยแพร่ลักษณะศิลปะ ต่อมาการสร้างงานศิลปะก็ไม่จำกัดแต่ชนชั้นเจ้านายหรือชนชั้นปกครองแต่ขยายไปยังพ่อค้าและเจ้านายชั้นรองด้วย ทางตอนเหนือของยุโรป “ศิลปะยุคปลายโกธิค” ยังคงพบในงานศิลปะจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และไม่มีอะไรมาแทนที่ก่อนถึงสมัยยุคเรอเนสซองซ์คลาสสิก การใช้คำนี้ของนักประวัติศาสตร์ศิลปะแต่ละคนอาจจะแตกต่างกันบ้างที่บางคนใช้ในวงที่จำกัดกว่าผู้อื่น Some art historians feel the term is "in many ways...
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดาวิดและศิลปะกอทิกนานาชาติ
ดาวิดและศิลปะกอทิกนานาชาติ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ดาวิดและศิลปะกอทิกนานาชาติ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดาวิดและศิลปะกอทิกนานาชาติ
การเปรียบเทียบระหว่าง ดาวิดและศิลปะกอทิกนานาชาติ
ดาวิด มี 22 ความสัมพันธ์ขณะที่ ศิลปะกอทิกนานาชาติ มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (22 + 8)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดาวิดและศิลปะกอทิกนานาชาติ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: