ดาวหางในแถบหลักและมหาสมุทร
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ดาวหางในแถบหลักและมหาสมุทร
ดาวหางในแถบหลัก vs. มหาสมุทร
วหางในแถบหลัก คือวัตถุที่โคจรอยู่ในระบบสุริยะในบริเวณแถบดาวเคราะห์น้อย แต่มีลักษณะปรากฏและคุณสมบัติคล้ายคลึงกับดาวหางในระหว่างการโคจรบางช่วง ดาวหางกลุ่มนี้จะแตกต่างกับดาวหางทั่วไปที่มักมีวงโคจรไกลกว่าดาวพฤหัสบดี และมีวงโคจรที่ค่อนข้างกลมอยู่ในบริเวณแถบหลักซึ่งแตกต่างจากวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยอื่นๆ ดาวหางคาบสั้นจำนวนหนึ่งอาจมีค่ากึ่งแกนเอกต่ำกว่าวงโคจรของดาวพฤหัสบดี แต่ดาวหางในแถบหลักจะมีความเยื้องศูนย์กลางที่เล็กกว่า และความเอียงวงโคจรก็คล้ายคลึงกับดาวเคราะห์น้อยในแถบหลัก มีดาวหางในแถบหลักที่รู้จักแล้ว 3 ดวงซึ่งพบว่ามีวงโคจรอยู่ในบริเวณขอบรอบนอกของแถบดาวเคราะห์น้อย from Henry Hsieh's Main Belt Comets webpage. การแบ่งมหาสมุทรตามแบบต่างๆ แผ่นที่กายภาพก้นทะเล มหาสมุทร (ocean) เป็นผืนน้ำทะเลขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิวโลก มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และมหาสมุทรอาร์กติก คำว่า sea หรือทะเล บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ในภาษาอังกฤษแบบอเมริกันได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน มวลน้ำเค็มปกคลุมประมาณ 72% ของพื้นผิวโลก (~3.6 กม.2) และถูกแบ่งเป็นมหาสมุทรหลัก ๆ และทะเลขนาดเล็กอีกหลายแห่ง โดยมหาสมุทรจะครอบคลุมพื้นที่โลกประมาณ 71% มหาสมุทรประกอบด้วยน้ำของโลก 97% และนักสมุทรศาสตร์กล่าวว่ามหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจไปได้เพียง 5% เท่านั้น ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร (320 ล้านลูกบาศก์ไมล์) มีความลึกเฉลี่ยที่ เนื่องจากมหาสมุทรเป็นส่วนประกอบหลักของอุทกภาคของโลก มหาสมุทรจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เป็นส่วนหนึ่งในวัฏจักรคาร์บอน และมีอิทธิพลต่อภูมิอากาศและลมฟ้าอากาศ มหาสมุทรเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตกว่า 230,000 สปีชีส์ แม้ว่ามหาสมุทรในส่วนที่ลึก ๆ ส่วนมากยังคงไม่ถูกสำรวจ และเชื่อกันว่ามีสิ่งมีชีวิตใต้น้ำมากกว่า 2 ล้านชนิดอยู่ในนั้น จุดกำเนิดของมหาสมุทรนั้นยังไม่มีคำตอบ แต่มีความคิดว่ามันเกิดขึ้นในบรมยุคเฮเดียน และอาจจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดาวหางในแถบหลักและมหาสมุทร
ดาวหางในแถบหลักและมหาสมุทร มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ดาวหางในแถบหลักและมหาสมุทร มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดาวหางในแถบหลักและมหาสมุทร
การเปรียบเทียบระหว่าง ดาวหางในแถบหลักและมหาสมุทร
ดาวหางในแถบหลัก มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ มหาสมุทร มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (8 + 20)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดาวหางในแถบหลักและมหาสมุทร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: