โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดาวหางเฮียะกุตะเกะและเมฆโมเลกุล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ดาวหางเฮียะกุตะเกะและเมฆโมเลกุล

ดาวหางเฮียะกุตะเกะ vs. เมฆโมเลกุล

วหางเฮียะกุตะเกะ (Comet Hyakutake, ชื่ออย่างเป็นทางการว่า C/1996 B2) เป็นดาวหาง ค้นพบเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2539Comet was discovered on 1996 January 30.8 UT (local time: January 31), see ซึ่งผ่านใกล้โลกในเดือนมีนาคมปีนั้น ได้รับการขนานนามว่าเป็น ดาวหางใหญ่ปี 2539 ซึ่งเป็นหนึ่งในดาวหางที่เข้าใกล้โลกที่สุดในรอบ 200 ปีที่ผ่านมา เฮียะกุตะเกะสว่างมากในท้องฟ้าราตรี และสามารถมองเห็นได้อย่างกว้างขวางทั่วโลก การสังเกตดาวหางทางวิทยาศาสตร์นำไปสู่การค้นพบจำนวนมาก ที่น่าประหลาดใจที่สุดสำหรับนักวิทยาศาสตร์ดาวหาง คือ การค้นพบการปล่อยรังสีเอกซ์จากดาวหางเป็นครั้งแรก ซึ่งเชื่อกันว่าเกิดจากอนุภาคลมสุริยะที่แตกตัวเป็นไอออนทำปฏิกิริยากับอะตอมที่เป็นกลางในโคมาของดาวหาง ยานอวกาศยูลิสซิสข้ามหางของดาวหางที่ระยะทางกว่า 500 ล้านกิโลเมตรจากนิวเคลียสอย่างไม่คาดฝัน แสดงให้เห็นว่าเฮียะกุตะเกะเป็นดาวหางที่มีหางยาวที่สุด เฮียะกุตะเกะเป็นดาวหางคาบยาว ก่อนการผ่านเข้าใกล้ระบบสุริยะที่สุดครั้งล่าสุด คาบวงโคจรอยู่ที่ราว 17,000 ปี แต่การรบกวนทางแรงโน้มถ่วงจากดาวเคราะห์ยักษ์เพิ่มคาบวงโคจรเป็น 70,000 ปี. กลุ่มเมฆในเนบิวลากระดูกงูเรือซึ่งถูกแสงดาวเป็นเวลาหลายล้านปีจนมีอุณหภูมิสูงมากและแตกตัวออกจากเนบิวลา ใกล้ ๆ กันจะเห็นดาวฤกษ์สว่างอยู่ ภาพของเมฆกลายเป็นสีแดงเพราะกระบวนการขจัดแสงน้ำเงินเพื่อลดความฟุ้งของฝุ่นในภาพ ภาพนี้ถ่ายโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในปี พ.ศ. 2542 เมฆโมเลกุล (Molecular Cloud) คือเมฆระหว่างดวงดาวชนิดหนึ่งที่มีความหนาแน่นมากและมีขนาดใหญ่พอจะทำให้เกิดการก่อตัวของโมเลกุลได้ โดยมากจะเป็นโมเลกุลของไฮโดรเจน (H2) บางครั้งก็เรียกว่า "อนุบาลดาวฤกษ์" (Stellar nursery) ในกรณีที่มีการก่อตัวของดาวฤกษ์อยู่ภายใน การตรวจจับโมเลกุลไฮโดรเจนโดยการสังเกตการณ์อินฟราเรดหรือการสังเกตการณ์คลื่นวิทยุจะทำได้ยากมาก ดังนั้นการตรวจจับมักใช้การสำรวจความมีอยู่ของ H2 โดยอาศัย CO (คาร์บอนมอนอกไซด์) โดยถือว่าสัดส่วนระหว่างการสะท้อนแสงของ CO กับมวล H2 เป็นค่าคงที่ แม้ว่าหลักการของสมมุติฐานนี้จะยังเป็นที่สงสัยอยู่ในการสังเกตการณ์ดาราจักรแห่งอื่น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดาวหางเฮียะกุตะเกะและเมฆโมเลกุล

ดาวหางเฮียะกุตะเกะและเมฆโมเลกุล มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ดาวหางเฮียะกุตะเกะและเมฆโมเลกุล

ดาวหางเฮียะกุตะเกะ มี 2 ความสัมพันธ์ขณะที่ เมฆโมเลกุล มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (2 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดาวหางเฮียะกุตะเกะและเมฆโมเลกุล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »